กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/234
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | เบ็ญจมาศ ไพบูลย์กิจกุล | th |
dc.contributor.author | ชลี ไพบูลย์กิจกุล | th |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. คณะเทคโนโลยีทางทะเล | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:47:20Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:47:20Z | |
dc.date.issued | 2554 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/234 | |
dc.description.abstract | การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาศักยภาพชุมชนในการจัดการทรัพยากรชายฝั่งอย่างยั่งยืนภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง: กรณีศึกษาของชุมชนในเขตอำเภออ่าวนก อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี แบ่งการศึกษาออกเป็นหลายประเด็นที่สำคัญ ดังนี้ 1) ประเด็นความหลากหลายของทรัพยากรทางทะเลบริเวณอ่าวนก (แพลงก์ตอนพืช แพลงก์ตอนสัตว์ สัตว์หน้าดิน และคุณภาพน้ำ 2) ประเมินสภาพเศรษฐกิจ และสังคมของประชาชนที่ทำอาชีพประมงพื้นบ้าน 3) ประเมินการลงแรงประมง และผลผลิตสัตว์น้ำที่พึงได้ 4) ประเมินการมีส่วนร่วมของประชาชนที่มีต่อการจัดการประมงบริเวณอ่าวนก และ 5) ประเมินการนำแนวคิด “เศรษฐกิจพอเพียง” ประยุกต์ใช้กับการจัดการประมงบริเวณอ่าวนก จากการประเมินความหลากหลายของทรัพยากรทางทะเลบริเวณอ่าวนก พบว่า ทั้งแพลงก์ตอนพืช แพลงก์ตอนสัตว์ และสัตว์หน้าดิน มีความหลากหลายอยู่ในระดับปานกลาง คุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานของคุณภาพน้ำชายฝั่งทะเล โดยความหลากหลายในบริเวณนี้จะขึ้นกับฤดูกาลเป็นสำคัญ รวมทั้งการปล่อยน้ำจืดที่มีค่าความกระด้างสูงมาจากหมู่บ้านใกล้เคียงส่งผล จากการศึกษาพบว่าครัวเรือนประมงพื้นบ้านมีสภาพเศรษฐกิจ และสังคมใกล้เคียงกับครัวเรือนประมงพื้นบ้านทั่วไป เช่น มีการศึกษาอยู่ในเกณฑ์ต่ำ รายได้หลักของครัวเรือนมาจากอาชีพการทำประมง จากการประเมินการตระหนักของชาวประมงพื้นบ้านที่มีต่อการมีส่วนร่วมในการจัดการประมงบริเวณอ่าวนำ พบว่าอยู่ในระดับเกณฑ์ต่ำ เนื่องจากชาวบ้านบริเวณนี้ไม่มีประสบการณ์ในการรวมกลุ่มเพื่อร่วมกันทำกิจกรรมต่าง ๆ อันจะทำให้อ่าวนกมีทรัพยากรทางทะเลคงอยู่และเพิ่มมากขึ้น การประเมินถึงการทำแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการรวมกลุ่มเพื่อการอนุรักษ์อ่าวนก พบว่าชาวประมงพื้นบ้านยังไม่มีความพร้อมในการรวมกลุ่ม ดังนั้นชาวบ้าน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรปรึกษาหารือเพื่อจัดตั้งกลุ่มต่าง ๆ ในการทำกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความอุดมสมบูรณ์ให้เพิ่มมากยิ่งขึ้นบริเวณอ่าวนก | th_TH |
dc.description.sponsorship | ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัย ประจำปีงบประมาณ 2553 จากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาแห่งชาติ | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะเทคโนโลยีทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ทรัพยากรชายฝั่ง - -ไทย | th_TH |
dc.subject | ทรัพยากรทางทะเล | th_TH |
dc.subject | เศรษฐกิจพอเพียง | th_TH |
dc.subject | สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา | th_TH |
dc.title | ศักยภาพชุมชนในการจัดการทรัพยากรชายฝั่งอย่างยั่งยืนภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง: กรณีศึกษาของชุมชน ในเขตอ่าวนก อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Community participation potential in sustainable coastal resources management under sufficient economics concept : case study of Ao Nok Community, Thamai, Chanthaburi province. | en |
dc.type | Research | |
dc.year | 2554 | |
dc.description.abstractalternative | The objective of this study was evaluated community polential for coastal resources management under idea of sufficiency economic in case of Ao Nok, Tha Mai, Chanthaburi Province. This Study had important issues including of 1) assessment of coastal resources diversity at Ao Nok (phyloplanklong, zooplankton, benthos and water quality), 2) assessment of economic and social statuses of people who had career as fisherman folk, 3) evaluation of the fisheries effort and the captured aquatic animals, 4) participated estimation of people for fisheries management at Ao Nok, and 5) conceptual determination of sufficiency economic application to fisheries management at Ao Nok. Results of this study elucidated that marine resources as Ao Nok containing of phytoplankton, zooplankton and benthos had medium level of diversity Water quality had within the range of the standard of coastal water quality. The fluctuation of diversity was depend on season in addition to fresh water discharge with high harchess for neighborhood villages. The fisheries households had economical and social statuses closely to general household such as inferior education and the main income came from fisheries. The evaluation of awareness of traditional fisheries to participation of fisheries management al Ao Nok had low level because of the local people had not experience to collaborate activities that conserved coastal resources. The conceptual determination of sufficiency economic application to fisheries management at Ao Nok revealed that the fishermen were not ready for grouping. Therefore, people and the relative government sector could discuss for created collaboration to encourage the plentiful of Ao Nok. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2568_018.pdf | 16.06 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น