กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2264
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | พรรัตน์ แสดงหาญ | |
dc.contributor.author | กัญจนวลัย นนทแก้ว แฟร์รี่ | |
dc.contributor.author | ชลดา ประยูรพาณิชย์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะการจัดการและการท่องเที่ยว | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:14:40Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:14:40Z | |
dc.date.issued | 2555 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2264 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากิจกรรมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และบทบาทนักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน รวมถึงศึกษาปัจจัยลักษณะองค์การ ที่มีผลต่อกิจกรรมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และบทบาทนักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ตลอดจนศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และบทบาทนักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยกลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารด้านทรัพยากรมนุษย์ นักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์หรือนักทรัพยากรมนุษย์ขององค์การอุตสาหกรรมยานยนตร์ ในเขตนิคมอุตสาหกรรมภาคตะวันออกจำนวน 182 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ในเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม 2555 สถิติที่ใช้ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว การหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า การดำเนินกิจกรรมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการแสดงบทบาทของนักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยกิจกรรมด้านการพัฒนามีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมาคือการฝึกอบรมและการศึกษาในส่วนของการแสดงบทบาท พบว่าบทบาทหุ้นส่วนเชิงยุทธศาสตร์มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมาได้แก่ บทบาทผู้สนับสนุนและเป็นที่พึ่งพาของพนักงาน บทบาทผู้นำการเปลี่ยนแปลง และบทบาทผู้เชี่ยวชาญในงาน รวมถึงผลการวิจัยพบว่า องค์การที่มีขนาดต่างกัน มีกิจกรรมและบทบาทนักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์แตกต่างกัน แต่อย่างไรก็ตาม สัญชาติเจ้าของกิจกรรมที่ต่างกัน พบว่ามีกิจกรรมและบทบาทนักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ไม่แตกต่างกัน ตลอดจนพบว่าความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมและบทบาทนักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยภาพรวมมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูง | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ | th_TH |
dc.subject | นักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ | th_TH |
dc.subject | ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน | th_TH |
dc.subject | อุตสาหกรรมยานยนต์ - - ไทย (ภาคตะวันออก) | th_TH |
dc.subject | สาขาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.title | การศึกษาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กรณีศึกษาอุตสาหกรรมยานยนต์ในเขตนิคมอุตสาหกรรมภาคตะวันออก | th_TH |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 1 | |
dc.volume | 1 | |
dc.year | 2555 | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research was to 1) to study the human resource development activities for supporting ASEAN economic community 2) to study the role of human resource development practitioners for supporting ASEAN economic community 3) to study the influence of organizational factors on the human resource development activities and the role of human resource development practitioners for supporting ASEAN economic community and 4) to study relationships between the human resource development activities and the role of human resource development practitioners for supporting ASEAN economic community. The samples used in this research were HR Managers HRD or HR practitioners in automotive industry in eastern industrial estate of 182 persons. The sampling method used was stratified random sampling with proportional allocation. A survey questionnaire was employed. The data were collected during February-March 2012. Statistical analysis used included frequency, percentage, mean, standard deviation, one-way analysis of variance (One-way ANOVA) , and Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient. Research findings show moderate level of the human resources development activities and the role of human resources development practitioners for supporting ASEAN Economic Community. It was found that the organizations with different size have difference in their human resources development activities and role of human resources development practitioners. However, the different nationality of organizations found no difference in theirs human resources development activities and sole of human resources development practitioners. Moreover, there is a positive relationship between the human resources development activities and the role of human resources development practitioners at the statistics level of .01. | en |
dc.journal | วารสารการจัดการธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา = Burapha journal of business management. | |
dc.page | 49-75. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
bbs1n1p49-75.pdf | 725.54 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น