กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/221
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | วิเชียร ชาลี | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:47:20Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:47:20Z | |
dc.date.issued | 2554 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/221 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ศึกษาผลของปริมาณเถ้าแกลบเปลือกไม้ ความละเอียดของเถ้าแกลบเปลือกไม้และอัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสาน ที่มีผลต่อปริมาณของการแทรกซึมของคลอไรด์ และการเกิดสนิมเหล็กภายหลังเผชิญสภาวะแวดล้อทะเล ในสภาวะเปียกสลับแห้ง เป็นเวลา 30 เดือน โดยใช้ส่วนผสมในคอนกรีตที่แทนที่ปูนซีเมนต์ ปอร์ตแลนด์ ประเภทที่ 14 ด้วยเถ้าแกลบเปลือกไม้ที่ผ่านการบด (ตะแกรงเบอร์ 325 ร้อยละ) ในอัตราส่วนร้อยละ 15, 25, 35, และ 50 โดยน้ำหนักของวัสดุประสาน เปรียบเทียบกับคอนกรีตควบคุมใช้ปูนซีมนต์ปอร์ตแลนด์ ประเภทที่ 1 ที่ไม่ผสมเถ้าแกลบเปลือกไม้ และใช้อัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสานเท่ากับ 0.45 และ 0.65 ใช้ตัวอย่างคอนกรีตลูกบาศก์ขนาด 200x200x200 มม. เพื่อฝังเหล็กเส้นกลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 12 มม. ยาว 15 มม. ที่ระยะคอนกรีตหุ้มเหล็กเท่ากับ 10, 20, 50 และ 75 มม. หลังจากบ่มตัวอย่างคอนกรีตในน้ำประปาจนครบ 28 วัน แล้วนำตัวอย่างไปแช่ในสภาวะแวดล้อมทะเลในสภาวะเปียกสลับแห้งในน้ะประปาจนครบ 30 เดือน เพื่อทดสอบหาปริมาณคลอไรด์ทั้งหมด และปริมาณคลอไรดือิสระในคอนกรีต และดูการเกิดสนิมในหล็กเสริมที่ฝังในคอนกรีต ผลการศึกษาบว่า คอนกรีตของปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ ประเภทที่ 1 ที่ผสมเถ้าแกลบเปลือกไม้ สมารถต้านทานการซึมผ่านของคลอไรด์ และต้านทานการเกิดสนิมดีกว่ากลุ่มที่ไม่ได้ผสมเถ้าแกลบเปลือกไม้ ส่วนผลของอัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสานที่ต่ำกว่าสามารถต้านทานการแทรกซึมของคลอไรด์ และการเกิดสนิมในคอนกรีตได้ดีกว่าอัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสานที่สูงกว่าอย่างเห็นได้ชัดเจน นอกจากนี้ยังพบว่า ปริมาณคลอไรด์ที่กักเก็บ มีค่าเพิ่มขึ้นตามปริมาณการแทนที่เถ้าแกลบเปลือกไม้ในคอนกรีต อย่างไรก็ตาม การแทนที่เถ้าแกลบเปลือกไม้ปริมาณสูงในคอนกรีต (แทนที่ร้อยละ 50) กลับส่งผลให้การกักเก็บคลอไรด์ในคอนกรีตมีค่าลดน้อยลง | th_TH |
dc.description.sponsorship | ทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554. | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การกัดกร่อนและการป้องกันการกัดกร่อน | th_TH |
dc.subject | คอนกรีตผสมขี้เถ้าลอย | th_TH |
dc.subject | คอนกรีตเสริมไม้ | th_TH |
dc.subject | ปูนซีเมนต์ - - สารผสมเพิ่ม | th_TH |
dc.subject | สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย | th_TH |
dc.title | การป้องกันการกัดกร่อนคอนกรีตเสริมเหล็กในสิ่งแวดล้อมทะเลโดยใช้เถ้าเถ้าแกลบเปลือกไม้ | th_TH |
dc.title.alternative | Utilization of rice husk-bark ash in corrosion protection for reinforced concrete under marine environment | en |
dc.type | งานวิจัย | th_TH |
dc.year | 2554 | |
dc.description.abstractalternative | This research is to study the effects of rice husk-bark ashes content and W/B ratio on chloride penetration profile and steel corrosion in concrete after 30 months exposure under marine environment. Ground rice husk-bark ashes were used to replace Portland cement type 1 at the percentage of 15, 25, 35, and 50 by weight of biner. Control concretest were cast by using Portland Cement type I with W/B of 0.45 and 0.65. Concrete cube specimens of 200 mm3 with having the embedded steel bar (12 mm in diameter and 50 mm in length) at the covering depth of 10, 20, 50 and 75 mm were prepared. The concrete cobes were cured in fresh water for 28 days and then placed to the tidal zone of marine environment. The specimens were tested for total and free chloride contents and corrosion of embedded stell bar after being exposed to sea water for 30 months. The results showed that the use of rice husk-bark ashes in concrete have a better chloride and stell corrosion resistant than control concretes. Besides, concrete with a low W/B ratio clearly decrease the chloride penetration and steel corrosion when compared with that a high W/B ratio. In addition, chloride binding capacity increased with the increase of rice husk-bark ash in the concrete. However, the use of high volume rice husk-bark ash in the concrete (50% replacement) results in decreases the chloride binding capacity. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2567_204.pdf | 5.25 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น