กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/216
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorฉลองชัย ธีวสุทรสกุล
dc.contributor.authorวชิราภรณ์ ศรีพุทธ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. คณะวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:47:19Z
dc.date.available2019-03-25T08:47:19Z
dc.date.issued2553
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/216
dc.description.abstractเป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม พื้นที่ศึกษาคืออ่าวคุ้งวิมาน จังหวัดจันทบุรีและบริเวณใกล้เคียง วัตถุประสงค์เพื่อสำรวจและประเมินศักยภาพการท่องเที่ยว พัฒนาและทดสอบรูปแบบการท่องเที่ยวที่ยั่งยืนภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง เครื่องมือที่ใช้คือแบบประเมินศักยภาพและการจัดการเพื่อเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ยั่งยืน และแบบสอบถาม ผลการศึกษาพบว่าอ่าวคุ้งวิมานจังหวัดจันทบุรีและบริเวณใกล้เคียง ประกอบด้วยแหล่งท่องเที่ยวทั้งตามธรรมชาติที่สวยงามและมนุษย์สร้างดังนี้ ชายทะเลเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่าเขามอบค้อ ชายทะเลหินโคร่ง ชายหาดอ่าวคุ้งวิมาน จุดชมวิวเนินเขาพระยืน จุดชมวิวเนินเขาพระสังกัจจาย์ ป่าธรรมชาติระหว่างจุดชมวิวเนินเขาพระสังกัจจายน์ลงไปถึงชายหาดสุดทางรัก จุดชมวิวบริเวณเขื่อนป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง จุดชมวิวเนินนางพญา เจดีย์หัวแหลม และอุโบสถเก่าวัดท่าแคลง ผลการประเมินพบว่า อ่าวคุ้งวิมาน จังหวัดจันทบุรีและบริเวณใกล้เคียงมีศักยภาพการเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ยั่งยืนในระดับปานกลาง และมีศักยภาพการจัดการเพื่อเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ยั่งยืนในระดับต่ำ รูปแบบการท่องเที่ยวที่ยั่งยืนภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงซึ่งพัฒนาจากการวิจัยครั้งนี้ทำให้นักท่องเที่ยวมีความรู้ ความตระหนัก อนุรักษ์ หวงแหน และเกิดความประทับใจ อ่าวคุ้งวิมานจังหวัดจันทบุรี และบริเวณใกล้เคียงในระดับมากth_TH
dc.description.sponsorshipได้รับการสนับสนุนงบประมาณ โครงการวิจัยและนวัตกรรมถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชนฐานราก สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา ปี พ.ศ. 2551en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรีth_TH
dc.subjectการท่องเที่ยวth_TH
dc.subjectจันทบุรี - - ภูมิประเทศและการท่องเที่ยวth_TH
dc.subjectเศรษฐกิจพอเพียงth_TH
dc.subjectอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวth_TH
dc.subjectอ่าวคุ้งวิมานth_TH
dc.subjectสาขาสังคมวิทยาth_TH
dc.titleการพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยวที่ยั่งยืนภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง อ่าวคุ้งวิมาน จังหวัดจันทบุรี และบริเวณใกล้เคียงด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมth_TH
dc.title.alternativeDeveloping the sustainable tourism in sufficiency economy philosophy model, Ao Khung Wiman, Chanthaburi and near by areas by using participatory action researchen
dc.typeResearch
dc.year2553
dc.description.abstractalternativeThe research is the Participatory action research (PAR) which study in Ao Kung Wiman, Chanthaburi and nearby. The objectives are survey and evaluate the potential of tourism, develop and test a sustainable form of tourism under the concept of sufficiency economy. The evalaation and management instrument are questionnaire and management of the community for a sustainable tourism. The results showed that Ao Kung Wiman and nearly attractions include the beautiful natural and generated by the community such as Mapkho Wildlife sanctuaries area, Hinkrong rocky beach, Khung Wiman beach, Phra Yean viewpoint, Sungkugjai viewpoint, Sudthung Rung beach, The forest between Sungkagjai viewpoint and sudthung Rung beach, The viewpoint of dam which prevent coastal erosion, Nung Phaya viewpoint Hualamg pagoda, and the old temple in Wat Tha Klaeng. evaluations found that Ao Kung Wiman, Chanthaburi and nearby attractions have the potential to be sustainable in the medium and managed as a sustainable tourism at a low level. The sustainable tourism in sufficiency economy model which develop form this research perform the tourist higher in knowledge, realizing, conservation, value highly and impressing Ao Khung Wiman, Chanthaburi and nearby areas.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย(Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น