กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2167
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ประจักษ์ น้ำประสานไทย | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:12:43Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:12:43Z | |
dc.date.issued | 2555 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2167 | |
dc.description.abstract | ในการถกเถียงเชิงวิชาการถึงแก่นแท้ของเรื่องที่เกี่ยวกับรัฐ การดำเนินนโยบายทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง นักวิชาการมักมองว่า อุดมการณ์เป็นประเด็นหรือสาเหตุหลักที่มีอิทธิพลต่อบทบาทของรัฐ พฤติกรรมของบุคคล องค์การเชิงสถาบันของสังคม ธรรมชาติหรือลักษณะของนโยบายของรัฐบาล ตลอดจนบรรยากาศการปฏิรูปสังคม และ/หรือการดำรงไว้ซึ่งสภาพการณ์ที่เป็นอยู่บรรดาภาพพจน์หรือภาพลักษณ์ และเอกลักษณ์ต่าง ๆ ที่เป็นรูปเป็นร่างขึ้นมาจากอุดมการณ์จะบอกให้รู้ว่าเราเป้นคนพวกไหน กลุ่มไหน และสังคมที่เราอยู่อาศัยนี้เป็นสังคมลักษณะใด นอกจากนี้ อุดมการณ์ยังเป็นสิ่งชี้นำพฤติกรรม การกระทำในเชิงสังคมที่สำคัญของประชาชน กลุ่มบุคคล และชุมชนต่าง ๆ ในการเลือกเป้าหมายและวิธีการที่พวกเขาจะบรรลุความสำเร็จ นโยบายสังคมที่สำคัญและการเปลี่ยนแปลงทางสถาบันแทบจะเกิดขึ้นไม่ได้เลยถ้าไม่มีการปรับตัวในโครงรากฐานทางอุดมการณ์ บทความนี้เริ่มต้นเนื้อหาด้วยการกล่าวถึงบทบาท และความสำคัญของอุดมการณ์ หลังจากนั้น เป็นเนื้อหาสาระเกี่ยวกับสภาพสังคมของยุโรปตะวันตกในยุคก่อนทันสมัย ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดของมโนทัศน์และความหมายแรกเริ่มของอุดมการณ์ พัฒนาการของอุดมการณ์ การก่อตัวของอุดมการณ์ หน้าที่และวิธีการภาคปฏิบัติที่จะทำให้อุดมการณ์บรรลุผลและเป็นที่ยอมรับของสังคมในวงกว้าง ความเชื่อมโยงระหว่างอุดมการณ์กับนโยบายสังคม แล้วจบลงที่เรื่องของรูปแบบเชิงสัญลักษณ์ซึ่งเป็นสื่อกลางสำคัญในการนำพาอุดมการณ์ไปยังจุดหมายปลายทาง คำหลัก: อุดมการณ์, วิธีการภาคปฏิบัติทางอุดมการณ์, รูปแบบเชิงสัญลักษณ์ Ideology was made necessary by the age of Enlightenment belief that people could improve their conditions by taking positive action instead of passively accepting life told by their spiritual and temporal superiors as it came. Ideology often becomes a necessary conceptual reference as a point of departure when discussing the state, social justice, equality, social policy, and social reform so it influences the role of the state, institutional organization of society, the nature of governmental policy, including climate for either societal reform or the maintenance of the status quo. This article is preceded by the role and significance of ideology and then goes on to the Western Europe societal context in the late eighteenth century ideology was first used, the development of ideology, ideological formation, the functions and general mode of operation of ideology which Ideologists use to nourish and sustain the possession and exercise of power, the linkage between ideology and social policy, and end with the contextual aspect of symbolic forms which facilitate the mobilization of ideology meaning to the desired end. | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | นโยบายสังคม | th_TH |
dc.subject | ยุโรปตะวันตก - - ภาวะสังคม | th_TH |
dc.subject | สาขาสังคมวิทยา | th_TH |
dc.subject | อุดมการณ์ | th_TH |
dc.title | อุดมการณ์ | th_TH |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 34 | |
dc.volume | 20 | |
dc.year | 2555 | |
dc.journal | วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.page | 1-23. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น