กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2165
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorทิพภา ปลีหะจินดา
dc.contributor.authorศุภรางศุ์ อินทรารุณ
dc.contributor.authorชิตาภา สุขพลำ
dc.contributor.authorกุสลวัฒน์ คงประดิษฐ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:12:43Z
dc.date.available2019-03-25T09:12:43Z
dc.date.issued2549
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2165
dc.description.abstractการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการและคุณสมบัติบัณฑิตสาขาบรรณาธิการ ที่หน่วยงานผลิตและเผยแพร่สื่อสิ่งพิมพ์คาดหวัง และเพื่อนำผลการวิจัยมาใช้ประโยชน์ในการจัดทำหลักสูตรและจัดการเรียนการสอนสาขาบรรณาธิการศึกษา เก็บรวบรวมข้อมูลโดยสอบถามกับหน่วยงานผลิตและเผยแพร่สิ่งพิมพ์ จำนวน ๒๑๙ แห่ง และจัดประชุมกลุ่มเป้าหมายผู้ประกอบอาชีพในวงการบรรณาธิการจำนวน ๖๐ คน ผบการวิจัยพบว่าสำนักพิมพ์ต้องการบรรณาธิการที่มีคุณสมบัติในวิชาชีพเกือบทุกด้านในระดับมาก โดยต้องการผู้มีการแสดงออกทางความคิดได้อย่างถูกต้องกับกาลเทศะเป็นลำดับแรก รองลงมาได้แก่ สามารถตรวจแก้ต้นฉบับได้ถูกต้อง ส่วนคุณสมบัติทั่วไป สำนักพิมพ์ต้องการบรรณาธิการที่มีจริยธรรม ความซื้อสัจย์ ความรับผิดชอบ ความอดทน และความประณีต ละเอียด รอบคอบ ในระดับมากสุด เมื่อเปรียบเทียบกับความต้องการด้านคุณสมบัติทั่วไปกับคุณสมบัติในวิชาชีพ พบว่าสำนักพิมพ์เกือบทุกกลุ่มให้ความสำคัญกับคุณสมบัติทั่วไปสูงมากกว่าคุณสมบัติในวิชาชีพสำหรับสำนวนบัณฑิตสาขาบรรณาธิการ ที่สำนักพิมพ์ต้องการรับเข้าทำงานนั้น สำนักพิมพ์จำนวน ๕๐ แห่ง ระบุว่าภายในระยะเวลา ๕ ปี ต้องการรับบัณฑิต จำนวน ๕๑๖ คน จากการประชุมกลุ่มเป้าหมาย พบว่าอาชีพบรรณาธิการมีความสำคัญและจำเป็นต่อสังคมมาก เนื่องจากต้องมีบทบาทหน้าที่เกี่ยวข้องกับเรื่องการใช้ภาษาและการแปล ส่วนคุณลักษณะของผู้ที่จะเป็นบรรณาธิการที่ดีนั้นจะต้องรักษาการอ่าน รักการทำงานด้านหนังสือและมีจริยธรรม ในการพัฒนาหลักสูตรด้านบรรณาธิการจึงต้องมุ่งฝึกคนเพื่อทำหน้าที่บรรณาธิการตรวจแก้ต้นฉบับเป็นวิชาหลักเฉพาะบรรณาธิการต้นฉบับต้องมีความรับผิดชอบทั้งทางกฎหมาย สังคม และจริยธรรม โดยมีข้อเสนอแนะว่าควรพัฒนาหลักสูตรพิเศษ สำหรับผู้ที่ทำงานบรรณาธิการอยู่แล้ว แต่ไม่มีคุณวุฒิด้านบรรณาธิการด้วยth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการบรรณาธิการth_TH
dc.subjectกำลังคนระดับอุดมศึกษาth_TH
dc.subjectบรรณาธิการth_TH
dc.subjectสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์th_TH
dc.titleการศึกษาแนวโน้มความต้องการบัณฑิตในสาขาบรรณาธิการth_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue22
dc.volume14
dc.year2549
dc.description.abstractalternativeThe aim of this research is to study the need for graduates majoring in editing and the qualities of them as requires by the publishers of the printing media, in order to apply its consequences in the preparation of curricula and syllabi for the editing major. The data are collected by means of questionnaires received back from 219 members of the Publishers and Booksellers Association of Thailand, and the focus group of 60 editing professionals. The consequences of the research are as follows. The publishers require to the high level editors with professional qualities in almost every respect. They state their requirements to the highest level for editors who express appropriate thoughts in accordance to circumstances, and the lower levels for those who edit manuscripts precisely, master in Thai usage skill, possess free will based on responsibility as well as wide and deep perspectives in various problematic issues, and apply appropriate language to each genre of literature respectively. With respect to general qualities of editors, the publishers state their requirements to the highest level for morality, honesty, responsibility, patience and accuracy. Comparing the requirements of general and professional qualities of editors, it is found that almost every group of publishers require general qualities to a higher level than professional. As for the number of graduates in editing needed by publishers, it is stated by 50 of them that 561 graduates are needed in 5 years. According to the focus group meeting, editors are socially important and essential, as they must deal with both the Thai usage and translation. Moreover, the required qualities of a good editor are the love of reading and dealing with books, and morality. Thus, the development of the editing curricula must be aimed to train manuscript editors. There are suggestions that there should be a main course on morality and etiquette of manuscript editors, as they are responsible in legal, social and moral respects; and there should also be a special course for editors in service who do not have a specialized degree.en
dc.journalวารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.page109-130.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
109-130.PDF18.23 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น