กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2164
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorUbon Dhanesschaiyakupta
dc.contributor.otherFaculty of Humanities and Social Sciencesen
dc.date.accessioned2019-03-25T09:12:43Z
dc.date.available2019-03-25T09:12:43Z
dc.date.issued2009
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2164
dc.description.abstractThe relationship between word recognition and reading comprehension processing skills in English of Thai students learning English as a foreign language was investigated. The subjects were 60 high school students of a public school. The instruments used to collect data were word recognition (three word-type-paper-based test : realword, nonwrod, and pseudoword) and reading comprehension tests. The statistical methods employed for analyzing the data were Descriptive (for calculating mean and standard deviation) , Pearson Product Moment (for analyzing the correlation), and Multiple Regression (for analyzing the predictive values of the predictors). The descriptive statistics reveal the highest mea of realword (44.15) and the lowest mean of pseudword (24.73). These means reflect the word recongnition capability of students in recognizing 95.99 percent of the realword and 68.69 percent of word sounding like real English word. The analysis of Pearson Product Moment displays two correlations between realword and reading comprehension, and between pseudword and reading comprehension. This result addresses the objective of this study. Finally, the results of Multiple regression analysis indicate 1) that the three predictors account for about 25% of the variance in the comprehension scores and 2) that realword and pseudword scores make a contribution to comprehension score.en
dc.language.isothth_TH
dc.subjectEnglish language - - Readingth_TH
dc.subjectWord recognition skillsth_TH
dc.subjectสาขาปรัชญาth_TH
dc.titleThe relationship between word recognition skills and reading comprehension in english of EFL Thai studentsen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue27
dc.volume17
dc.year2009
dc.description.abstractalternativeงานวิจัยนี้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทักษะในการถอดรหัสคำและการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสังกัดโรงเรียนรัฐบาลเรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษต่างประเทศจำนวน ๖๐ คน กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด ๖๐ คนนี้ ถูกกำหนดให้ทำแบบทดสอบ ๒ ชุด คือ แบบวัดความรู้ความสามารถในการถอดรหัสคำประกอบด้วยแบบทดสอบย่อย ๓ ประเภท ได้แก่ realword pseudoword และ nonword และแบบวัดความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจ คะแนนจากบททดสอบทั้งสองถูกวิเคราะห์ด้วยสถิติเชิงพรรณนาและอนุมานผลของการวิเคราะห์ด้วยสถิติเชิงพรรณา แสดงให้เห็นค่าเฉลี่ยสูงของคะแนนจาก realword test (๔๔.๑๕) และค่าต่ำสุดของคะแนนจาก pseudoword test ค่าเฉลี่ยทั้งสองนี้ชี้ให้เห็นถึงความสามารถในการถอดรหัสคำประเภท pseudoword (ร้อยละ ๙๕.๙๙ และ ๖๘.๖๙ ตามลำดับ) ผลของการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสัมประสิทธิ์สหพันธ์ Pearson , Product Moment แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการถอดรหัสคำ (realword pseudoword และ nonword) สามารถพยากรณ์ความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจได้ร้อยละ ๒๕ และความสามารถในการถอดรหัสคำ realword pseudoword มีผลต่อการอ่านเพื่อความเข้าใจth
dc.journalวารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.page41-57.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
41-57.pdf823.63 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น