กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2163
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorUbon Dhanesschaiyakupta
dc.contributor.otherFaculty of Humanities and Social Sciences
dc.date.accessioned2019-03-25T09:12:43Z
dc.date.available2019-03-25T09:12:43Z
dc.date.issued2009
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2163
dc.description.abstractทฤษฏี Sociocultural มีจุดกำเนิดมาจากความคิดและงานของ Vygotsky ที่เป็นในเรื่องของภาวะจิต หรือความตระหนักในความคิดหรือความรู้สึกก่อนทำให้ทฤษฏีนี้แตกต่างจากทฤษฏี behavioral และ nativist โดยทฤษฏี Sociocultural นี้ ให้ความสัมพันธ์กับการปฏิสัมคงของมนุษย์ว่าเป็นปัจจัยสำคัญที่นำไปสู่การพัฒนาของภาวะจิตและปัญญา เนื่องเพราะการปฏิสัมพันธ์ของสังคม โดยเฉพาะกับผู้ที่มีความรู้และประสบการณ์มากกว่าพร้อมกัน การเอื้อประโยชน์ของวัตถุทางสังคม ทำให้ปัจเจกบุคคล เปลี่ยนแปลงจากการถูกชี้นำหรือควบคุมโดยผู้อื่นมาสู่การชี้นำและควบคุม อันเป็นภาวะที่ทำให้บุคคลนั้นสามารถทำสิ่งต่างๆ ได้ด้วยตนเอง ขบวนการของการเปลี่ยนแปลงนี้สามารถเห็นได้ชัดเจนผ่านโครงสร้างย่อยของทฤษฏีที่สำคัญ ๓ โครงสร้าง คือ Zone of Proximal Development Activity Theory และ Private Speech. แนวความคิดนี้ทำให้ทฤษฏี Sociocultural เอื้อประโยชน์อย่างมากมายต่อวงการศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ต่อการเรียนการสอนในชั้นเรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองและเป็นภาษาต่างประเทศ (และต่องานวิจัย) Vygotsky’s sociocultural theory is originated from his ideas and works emphasizing on consciousness; thus, making his theories. Unlike behaviorism and nativism, this theory views social interaction as the key factor for human beings to develop their consciousness and cognition. Through interaction with more knowledgeable persons and with the support of cultural tools or arifacts (physical and abstract thing) , anindividual transforms from other-regulation to self-regulation-the state that this individual can do things on his/her own. The process of this transformation is apparent under the three significant constructs of this theory, namemely-the Zone of Proximal Development, Activity Theory, and Private Speech. Based on this concept, the sociocultury theory significantly contributes to the field of education, especially to ESL and EFL classroom instruction and a large scale of ESL and EFL research.th_TH
dc.language.isoength_TH
dc.subjectEnglish language - - Stady and techingth_TH
dc.subjectSocial interactionth_TH
dc.subjectSocioculturalth_TH
dc.subjectสาขาสังคมวิทยาth_TH
dc.titleSociocultural theory and its contributions to ESL/FL classroom research and instructionen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue27
dc.volume17
dc.year2009
dc.journalวารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.page29-39.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
29-39.pdf536.66 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น