กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2150
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ขวัญชฎิล พิศาลพงศ์ | |
dc.contributor.author | กนกพร อ่อนบุญ | |
dc.contributor.author | นงเยาว์ เปรมกมลเนตร | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | en |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:12:42Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:12:42Z | |
dc.date.issued | 2552 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2150 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการดำเนินงาน รวมทั้งปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานด้านการบริหารจัดการห้องสมุดประชาชนสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยเปรียบเทียบกับมาตรฐานห้องสมุดประชาชน พ.ศ. ๒๕๕๐ ตลอดจนศึกษาแนวทางการพัฒนาห้องสมุดประชาชนสังกัดกรุงเทพมหานคร การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์และการสังเกตสภาพการดำเนินงานห้องสมุดประชาชน ผลวิจัยสรุปได้ดังนี้ ๑. สภาพการดำเนินงาน พบว่า ห้องสมุดประชาชนส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในเขตบริเวณศูนย์กลางของชุมชน ให้บริการยืม-คืน บริการข่าวสาร บริการห้องสมุดท้องถิ่น บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า บริการแนะนำการใช้ห้องสมุด บริการห้องสมุดเคลื่อนที่ และบริการอินเทอร์เนต กิจกรรมที่จัด คือ กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ใช้ระบบห้องสมุดอัตโนมัติได้แก่ ระบบ E-lib และ PLS ๒. ๒. ปัญหาและอุปสรรคในด้านการบริหารจัดการห้องสมุดประชาชน พบว่า ห้องสมุดส่วนใหญ่มีปัญหามากที่สุด ในด้านการบริหารงบประมาณ รองลงมาคือความร่วมมือกับองค์กรภายนอก/ชุมชน และการบริการประชาสัมพันธ์ ๓. เมื่อเปรียบเทียบสภาพการดำเนินงานในปัจจุบันด้านการบริหารจัดการของห้องสมุดประชาชนสังกัดกรุงเทพมหานครกับมาตรฐานห้องสมุดประชาชน พ.ศ.๒๕๕๐ ของสมาคมห้องสมุดแก่งประเทศไทย พบว่า สภาพการดำเนินงานในปัจจุบันแตกต่างกับมาตรฐานห้องสมุดประชาชน ใน ๗ ด้าน จาก ๑๓ ด้าน ๔. แนวทางการพัฒนาห้องสมุดประชาชน จำแนกเป็น ๒ องค์ประกอบ ได้แก่ (๑) การบริหารจัดการทั่วไป และ (๒) การให้บริการสารสนเทศ โดยในทุกด้านของการดำเนินงานควรมีการพัฒนาเพื่อเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพในการให้บริการสารสนเทศให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | ห้องสมุด - - การบริหาร | th_TH |
dc.subject | ห้องสมุดประชาชน - - กรุงเทพฯ | th_TH |
dc.subject | ห้องสมุดประชาชน - - การบริหาร - - กรุงเทพฯ | th_TH |
dc.title | แนวทางการพัฒนาการดำเนินงานห้องสมุดประชาชนสังกัดกรุงเทพมหานคร | th_TH |
dc.title.alternative | The developmental guideliness for the operation of public libraries under the supervision of the Bangkok Metropolitan Adminstration | en |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 28 | |
dc.volume | 17 | |
dc.year | 2552 | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were to study the operating condition, as well as problems and obstacles on operation in term of management of public libraries under the supervision of the BMA, by comparing with the Standard of Public Libraries, 2008, and to study guidelines for development of the operations of public libraries under the supervision of the BMA. The study used qualitative research method by in-depth interview and observation of the operating conditions of public libraries. The findings of this study were as follows. 1. Operating condition, most of the library building were located in the central area of communities. The services provided were circulation service, information service, local information service, reference and information service, and internet service. The activity provided was the reading promotion. The automated library system used were E-lib and PLS. 2. The Problems and obstacles on operation in term of management of the public libraries mostly were budget management, followed by external organization / community cooperation and public relations. 3. When comparing between the present operating conditions in term of management of the public libraries and the Standard of Public Libraries, 2008 issued by the Library Association of Thailand, revealed that the differences were found in 7 aspects from 13 aspects. 4. The guideline for development of the public libraries operations consisted of 2 factors : (1) management in general and (2) information services. The operations in all aspects of public libraries should be improved in order to increase the quality and effectiveness in information services as the standard criteria. | en |
dc.journal | วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.page | 117-134. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
117-134.pdf | 1.34 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น