กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/214
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสมชาย ยงศิริth
dc.contributor.authorจิรนุช ธรรมคำภีร์th
dc.contributor.authorผกาพรรณ ดินชูไทth
dc.contributor.authorศิริพร ตั้งจาตุรนรัศมีth
dc.contributor.authorสุริยา โปร่งน้ำใจth
dc.contributor.authorรัชนีพร ชื่นสุวรรณth
dc.contributor.authorพวงทอง อินใจth
dc.contributor.authorณัฐพล อันนานนท์th
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะแพทยศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:47:19Z
dc.date.available2019-03-25T08:47:19Z
dc.date.issued2551
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/214
dc.description.abstractที่มาของปัญหา ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บจากการจมน้ำมักมีความผิดปกติของดุลเกลือแร่ในร่างกาย ปัจจุบันยังไม่มีรายงานเกี่ยวกับความผิดปกติของดุลเกลือแร่ในผู้ป่วยจมน้ำทะเลในประเทศไทย วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาเกี่ยวกับลักษณะความผิดปกติของดุลเกลือแร่ในผู้ป่วยจมน้ำทะเลที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยบูรพา วิธีวิจัย ศึกษาเวชระเบียนย้อนหลังเป็นเวลา 10 ปี นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่าง ๆ ด้วยโปรแกรม SPSS version 19 ผลการศึกษา กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยผู้ป่วยเพศชาย 23 ราย เพศหญิง 16 ราย อายุเฉลี่ย 14.46+11.15 ปี มีผู้ป่วยอายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 8 ปี 19/39 ราย (48.72%) ความผิดปกติของดุลเกลือแร่ที่พบบ่อยตามลำดับคือ hyponatremia 2/39 (5.1%) hypernatremia 12/39 (30.8%) hypokalemia 8/39 (20.5%) hyperchloremia 16/39 (41.1%) high anion gap 23/39 (59%) hypobicarbonatemia (61%) ผู้ป่วย hypokalemia จำนวน 7 รายจาก 8 รายมีภาวะ high anion gap ร่วมด้วย ระดับความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดของผู้ป่วยที่มี hifh anion gap ต่ำกว่าผู้ป่วยที่มี normal anion gap อย่างมีนัยสำคัญ (87.06+17.68% vs. 95.8+5.94% p=0.031) โดยที่มีระดับ systolic blood pressure ไม่แตกต่างกัน สรุปคือ ความผิดปกติของดุลเหลือแร่ในผู้ป่วยจมน้ำทะเลที่พบบ่อยคือ Hypernatremia, hypokalemia, hyperchloremia และ high anion gap สาเหตุของ high anion gap น่าจะมาจากภาวะพร่องออกซิเจนth_TH
dc.description.sponsorshipรายงานการวิจัยฉบับนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัย ประเภทงบประมาณเงินรายได้ ศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปี 2551en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการจมน้ำth_TH
dc.subjectเกลือแร่th_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleความผิดปกติของดุลเกลือแร่ในผู้ป่วยจมน้ำทะเลในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.title.alternativeElectrolytes abnormalities in sea water near-drowning patients in Burapha University hospitalen
dc.typeResearch
dc.year2551
dc.description.abstractalternativeBackground: Near-drowning patients in sea water are expected to have multiple electrolytes abnormalities. There were limited data about these patients in Thailand. Objective: To study characteristic of electrolytes abnormalities in sea water near-drowning patients in Burapha University Hospital Thailand. Methods: Retrospective analytic study of 39 medical records of near-drowning patients admitted to Burapha University Hospital during 2000-2010. Results: There were 23 male, 16 female patients. Average age was 14.46+11.15 years, 19/39 (48.72%) patients were aged 8 or less. The following electrolytes abnormalities were identified; hyponatremia 2/39 (5.1%), hypernatremia 12/39 (30.8%) hypokalemia 8/39 (20.5%) hyperchloremia 16/39 (41.1%) high anion gap 23/39 (59%) hypobicarbonatemia (61%). Seven out of 8 patients in hypokalemia group were in the high anion gap group. Mean SpO2 in the patients who had high anion gap was significantly lower than normal anion gap group ( Conclusions:en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2566_126.pdf2.12 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น