กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2120
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | รัตนา พรหมสวัสดิ์ | |
dc.contributor.author | ขวัญชฎิล พิศาลพงศ์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:12:40Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:12:40Z | |
dc.date.issued | 2554 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2120 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพ รูปแบบ ปัญหา ของการให้บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้าตลอดจนบทบาทที่คาดหวังและสมรรถนะที่จำเป็นของบรรณารักษ์บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า รวมถึงแนวโน้มของการพัฒนารูปแบบการให้บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้าของห้องสมุดมหาวิทยาลัยเอกชน โดยใช้วิธีเชิงผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ หัวหน้าฝ่ายและบรรณารักษ์บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้าในห้องสมุดมหาวิทยาลัยเอกชน จำนวน 38 แห่ง รวม 118 คน ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารและจัดการห้องสมุดและให้บริการสารสนเทศ จำนวน 10 คนและผู้ใช้บริการห้องสมุด จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งมีโครงสร้าง สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบของงานบริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้าที่จัดให้บริการในห้องสมุด ส่วนใหญ่เป็นแบบผู้ใช้ติดต่อด้วยตนเอง, ทางโทรศัพท์, ทาง e-Mail, ทาง Online Chat, MSN, ทางโทรสาร, ทาง Web Board, ทางไปรษณีย์ และทาง Blog ปัญหาที่บรรณารักษ์บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้าประสบมากที่สุด ได้แก่ การขาดทักษะในการใช้ภาษาอังกฤษ บทบาทที่บรรณารักษ์บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้าคาดหวังมากที่สุด คือบทบาทในฐานะผู้สอนและที่ปรึกษา ส่วนสมรรถนะที่จะเป็นมากที่สุดคือ บุคลิกท่าทางที่เป็นมิตร มีน้ำใจ และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ใช้บริการ แนวโน้มของการพัฒนารูปแบบการให้บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้าที่บรรณารักษ์บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้าที่เห็นด้วยมากที่สุด คือ จัดให้มีการตออบคำถามได้หลายช่องทาง | th_TH |
dc.language.iso | eng | th_TH |
dc.subject | บริการตอบคำถาม | th_TH |
dc.subject | บริการสารสนเทศ | th_TH |
dc.subject | ห้องสมุดและบริการของห้องสมุด | th_TH |
dc.subject | ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาเอกชน | th_TH |
dc.subject | สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการให้บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้าของห้องสมุดมหาวิทยาลัยเอกชนในประเทศไทย | th_TH |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 2 | |
dc.volume | 18 | |
dc.year | 2554 | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to study the conditions, models and problems of the reference service, the anticipated roles and necessary capabilities of reference libraries and the tendency of the development of models of reference service in Thai private university libraries. The study used a mixed-methods research methodology which consisted of quantitative and qualitative research. Samples were 118 heads of the reference services and the reference librarians of 38 private university. 10 experts in library management and information services and 30 library users. A questionnaire and a semi-structured interview were used as collection instrument. Descriptive statistics, such as frequency, percentage, mean, and standard deviation were used to analyze the data. The results showed that the model of reference service offered in the libraries were face to face, telephone, e-Mail, Online Chat, fax, Web Board, and Blog. The problems mostly found in the reference services were English Communication skill. The most anticipated roles of the reference librarians were instructorship and consultantship. The most anticipated necessary capabilities were their personalities such as friendly, generous and service mind. The tendency of development of reference services that reference librarians agreed the most were to improve the various ways of reference and information services | en |
dc.journal | อินฟอร์เมชั่น = Information | |
dc.page | 22-41. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น