กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2110
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | เรวัต แสงสุริยงค์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:12:39Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:12:39Z | |
dc.date.issued | 2554 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2110 | |
dc.description.abstract | บริการรูปแบบใหม่ของรัฐบาลในยุคของสังคมสารสนเทศ คือ การนำเอาบริการที่มีอยู่เดิมมาทำให้เป็นระแบบอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริการประชาชนผ่านเครือข่ายการสื่อสารโทรคมนาคมและช่วยลดภาระผู้ใช้บริการในการเดินทางมาติดต่อกับหน่วยงานของรัฐ โดยเฉพาะประชาชนที่อยู่ห่างไกลชนบท ศูนย์บริการสารสนเทศเป็นนวัตกรรมที่นิยมนำมาใช้ในการลดช่องว่างการเข้าถึงสารสนเทศและเป็นช่องทางการเข้าถึงบริการอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐของคนในเมืองและชนบทของหลายประเทศ ความล้มเหลวของการใช้บริการอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐผ่านศูนย์บริการสารสนเทศ มาจากขาดการสนับสนุนและส่งเสริมจากรัฐบาลอย่างจริงจัง ขาดความรับผิดชอบและความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้ให้บริการขาดความรู้และความเข้าใจในการใช้บริการใหม่ๆ และขาดการประเมินผลเพื่อนำไปสู่การแก้ไขปัญหา รวมถึงผู้ใช้บริการไม่ให้ความสำคัญหรือเห็นประโยชน์ในการใช้บริการจากศูนย์บริการสารสนเทศ ความสำเร็จในการให้บริการอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐผ่านศูนย์บริการสารสนเทศไม่ใช่อยู่ที่ตัวบริการอิเล็กทรอนิกส์หรือศูนย์บริการสารสนเทศ แต่อยู่ที่กระบวนการบริหารศูนย์บริการสารสนเทศบริการอิเล็กทรอนิกส์ และประชาชนผู้ให้บริการเป็นหนึ่งเดียวกัน นั่นก็คือ ศูนย์บริการสนสนเทศต้องได้รับการยอมรับจากประชาชน มีบริการหลักที่ประชาชนของแต่ละชุมชนต้องการ และประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการบริหาร | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | ข้อมูลข่าวสารของราชการทางอิเล็กทรอนิกส์ | th_TH |
dc.subject | ศูนย์บริการสารสนเทศ | th_TH |
dc.subject | สารสนเทศ | th_TH |
dc.subject | สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.title | ศูนย์บริการสารสนเทศ: สะพานเชื่อมบริการอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ | th_TH |
dc.title.alternative | Bridging the gap of e-Government | |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 31 | |
dc.volume | 19 | |
dc.year | 2554 | |
dc.description.abstractalternative | In the Information Age., technological innovation has transformed government in such a way that traditional services are now being delivered electronically (e-services). These e-services, which are provided through the telecenter, are intended to reduce costs and also to enable people living in remote areas to have easy access to government agencies. The telecenter is now widely accepted in many countries as the best way to bridge the communications gap and provide access to government services for people in both rural and urban areas. Failure of e-services through the telecenter is a result of many areas of challenge: lack of support and/or encouragement from the government; lack of the knowledge and understanding of the use of new services; and, finally, lack of evaluation strategies intended to resolve such issues. The success of e-services through the telecenter is not a result of e-services themselves, or even the telecenter itself, but rather the management of the telecenter, thee-services, and the people involved. The telecenter needs to be recognized positively by the public, it need to provide the services that the members of each community need, and the public need to participate in the all-important management process | en |
dc.journal | วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.page | 81-102. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
p81-102.pdf | 6.3 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น