กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2062
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวุฒิชาติ สุนทรสมัย
dc.contributor.authorมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะการจัดการและการท่องเที่ยว
dc.date.accessioned2019-03-25T09:12:36Z
dc.date.available2019-03-25T09:12:36Z
dc.date.issued2551
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2062
dc.description.abstractผลการสำรวจสถานภาพและความสามารถในการแข่งขันทางวิชาการดานมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๔๘ โดยสถาบันเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ ยืนยันปัญหาความอ่อนแอทางด้านการวิจัยทางวิชาการด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ของประเทศไทย เกิดจากความแตกต่างด้านบุคลากรในแต่ละวิชาที่มีไม่เท่าเทียมกันและกระจุกตัวอยู่ในบางสถาบันอุดมศึกษาใหญ่ๆ นำมาซึ้งความเหลื่อมล้ำต่อการพัฒนางานวิจัยทั้งด้านปริมาณและคุณภาพแก่สถาบันอุดมศึกษาในส่วนภูมิภาคส่วนใหญ่เป็นอย่างมาก บทความนี้มุ่งที่จะวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค อันนำมาซึ่งแนวทางและข้อเสนอแนะสำหรับแก้จุดอ่อน โดยการสร้างและใช้โอกาสที่มีให้เกิดประโยชน์ ซึ่งจะช่วยให้ผู้บริหารเข้าใจปัญหาดังกล่าวอย่างชัดเจน ผู้บริหารที่เป็นผู้นำของมหาวิทยาลัยและสถาบันในสาชาด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มีภารกิจสำคัญเร่งด่วนในการทบทวนวิสัยทัศน์และพันธะกิจให้มีความสอดคล้องกัน โดยเฉพาะเจาะจงในการพัฒนาแผนกลยุทธ์ แผนงาน แนวทางกิจกรรม และโครงการต่างๆ ของมหาวิทยาลัย/สถาบันในการพัฒนาเครือข่ายการวิจัย โดยเฉพาะมหาวิทยาลัย/สถาบันในส่วนภูมิภาคจำนวนมากให้มีความสอดคล้องที่เด่นชัดพอสมควรระหว่างภารกิจและเป้าหมายเกี่ยวกับวิชาการด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ที่มีต่อชุมชนหรือภูมิภาค โดยดำเนินการตามกระบวนการพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือการวิจัยสู่ความสำเร็จ คือ การวิเคราะห์ความสามารถในการแข่งขันทางการวิจัยด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ การกำหนดแผนกลยุทธ์ด้านเครือข่ายความร่วมมือการวิจัย การลงมือปฏิบัติให้เป็นรูปธรรม และการติดตามการประเมินผลอย่างต่อเนื่องth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectความร่วมมือทางการศึกษาth_TH
dc.subjectผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาth_TH
dc.subjectมนุษยศาสตร์ - - วิจัยth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleบทบาทของผู้บริหารกับเครือข่ายความร่วมมือการวิจัยด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ของมหาวิทยาลัยไทยth_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue25-26
dc.volume16
dc.year2551
dc.description.abstractalternativeThe most recent survey report by the Institute of Academic Excellence found that in light of the status and academic competitive advantages in Humanities and Social Sciences in Thai Universities, the weakness of research works on humanities and social sciences mainly resulted from the discrepancies on academic and research manpower as well as imbalance of the human resources of Thai universities. These lead to imbalance for developing the quantities and quality of research works conducted in the regional universities as a whole. The paper emphasized the strengths, weaknesses, opportunities, and threats on how to increase the competitive advantage on Humanities and Social sciences research, including suggestion the guidelines for enhancing the role of university administrators to understand clear these problem the research works locally and globally. The major role of university administrator as a change agent is to promote the collaboration on humanities and social science research through reviewing and modifying the research master plan. The research master plan, on the other hand, provides strategically the future direction through vision and the procedure and process with the sophistication mission as well as implement concretely with a performance evaluation continuously through an integrated research network which based on the emerging of collaborative in the organization and among universities and communities, entrepreneurs, and government agencies locally and globally.en
dc.journalวารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.page203-215.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
203-215.pdf1.03 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น