กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2050
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวิพุธ พูลเจริญ
dc.contributor.authorสุนันทา โอศิริ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะการแพทย์แผนไทยอภัยภูเบศร
dc.date.accessioned2019-03-25T09:12:36Z
dc.date.available2019-03-25T09:12:36Z
dc.date.issued2555
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2050
dc.description.abstractการวิจัยเชิงปฏิบัติการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริการด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ทางเพศและอนามัยเจริญพันธุ์ในร้านยา โดยการสำรวจและจัดทำข้อเสนอ เชิงนโยบายเพื่อเสริมสมรรถนะร้านยาให้เข้าร่วมเป็นเครือข่ายบริการอนามัย เจริญพันธุ์และป้องกันโรคเอดส์ ในช่วงระยะเวลาตั้งแต่ พ.ศ. 2552 ถึง พ.ศ. 2553 ผู้ตอบแบบสอบถาม 441 คน จากร้านยาทั้งหมด 634 แห่ง (70%) ในจังหวัดชลบุรี มียอดจำหน่ายยาคุมฉุกเฉิน จำนวนมากถึง 16,870 กล่อง/เดือน ถุงยางอนามัย 14,883 เดือน และชุดตรวจการตั้งครรภ์ 6,943 กล่อง/เดือน ร้านยาที่อยู่ใกล้สถานศึกษามีการจำหน่าย ยาคุมกำเนิดฉุกเฉิน ถุงยางอนามัย และชุดตรวจการตั้งครรภ์ มากกว่าร้านยาที่อยู่ไกลสถานศึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ผู้รับบริการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ที่ซื้อยากินเองจากคำโฆษณา มีจำนวน 5,168 คน /เดือน มากกว่าผู้รับบริการที่บอกเล่าอาการให้ร้านยาจัดยาให้จำนวน 2,444 คน/เดือน ยาที่สั่งจ่ายเพื่อต้านเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ หนองในแท้ หนองในเทียม แผลริมอ่อน ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่ม Quinolone 74.2% ได้แก่ Ciprofloxacin และ Norfloxacin ยากลุ่มอื่น ได้แก่ Doxycyclin 45.7% Azithromycin 26.5% และอื่น ๆ อีกถึง 19 ชนิด ร้านยาส่วนใหญ่มีบริการให้ความรู้เรื่องโรคและการใช้ยา แต่บริการให้คำปรึกษาเฉพาะด้านอนามัยเจริญพันธุ์ยังมีน้อย ร้านยา 358 แห่ง (89%) ยินดีเข้าร่วมเป็นเครือข่าย โดยส่วนใหญ่ต้องการให้มีการอบรม (94%) และสนับสนุนเอกสารเผยแพร่ (99.5%) ผลจากการจัดทำข้อเสนอ ระดับนโยบาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี ได้จัดให้มีการอบรมเสริมสมรรถนะร้านยาด้านการให้คำปรึกษาด้านเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และส่งเสริมการเข้าถึงถุงยางอนามัยและสร้างเครือข่ายที่ครอบคลุมทั้งด้านสุขภาพและสังคมth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectชุดตรวจการตั้งครรภ์th_TH
dc.subjectยาคุมกำเนิดฉุกเฉินth_TH
dc.subjectร้านยาth_TH
dc.subjectโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์th_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleการจำหน่ายยาคุมกำเนิดฉุกเฉิน ชุดตรวจการตั้งครรภ์ และการให้บริการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โดยร้านยาในจังหวัดชลบุรีth_TH
dc.title.alternativeDispensing of emergency hormonal contraceptive pills, pregnancy test kits, and phramacy services for sexually transmitted infections by drugs stores in Chon Buri provinceen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue1
dc.volume7
dc.year2555
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this operation research were to study the sexual and reproductive health services of drug stores in providing the therapeutic cares for the STO/HIV, pregnancy test, condom supply, family planning as well as referral linkage with the related health services for youth clienteles. Questionnaires were distributed to get the informationfrom 441 of the 634 (70%) drug stores in Chon buri during 2009-2010. A large number, (16,870) of emergency hormonak contraceptive pills (EHC) was reported to be soldeach month, and 14,883 condoms and 6,943 pregnancy test kits were distributed. The supply of EHC, condoms and pregnancy test kits by drug stores located near schools/academic institutions was significantly higher than those far aeay (p<0.05). STI services were reported to be 2,444 clienteles/moth 5,168 customers bought medicine from advertisement. The vatiation of 19 anitibiotics was dispensed for gonorrhea, non-gonococcal urethritis, and chancroid, in which 74.2% was in the quinolone group (such as ciprofloxacin and norfloxacin), 45.7% was doxycyclin, and 26.5% was azithromycin, and etc. Most of the drug stores provided general information about medicine and treatment but less advice on prevention and reproductive health. There were 358 drug stores (89.1%) willing to co-operate in the reproductive health service network. Training was needed by 94.0%, and 99.5%asked for information leaflets. As a result of the executive report by the authors, the procincial public health office had drug stores trained in the reproductive health service. The condom supplied through drug stores was the strategy to increase accessibility of condoms for the prevention of HIV/STD.en
dc.journalวารสารสาธารณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.page1-12.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
1-12.pdf956.78 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น