กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2045
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorทวีชัย สำราญวานิช
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:10:39Z
dc.date.available2019-03-25T09:10:39Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2045
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มุ่งศึกษาความต้านทานการแทรกซึมคลอไรด์และกำลังอัดของคอนกรีตที่ผสมซิลิก้าฟูม โดยใช้ซิลิก้าฟูมแทนที่วัสดุประสานร้อยละ, 5, 7.5, 10 และ 15 โดยน้ำหนัก และใช้อัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสานเท่ากับ 0.40 และ 0.50 ทำการหล่อตัวอย่างคอนกรีตทรงลูกบาศก์ ขนาด 10×10×10 ซม3 สำหรับทดสอบกำลังอัดคอนกรีตที่อายุ 7, 14, 28, 56 และ 91 วัน และหล่อตัวอย่างคอนกรีตทรงกระบอกขนาด ∅ 10×20 ซม2 สำหรับทดสอบการแทรกซึมคลอไรด์แบบเร่ง ของคอนกรีตที่อายุ 7, 28 และ 91 วัน และการแทรกซึมคลอไรด์ของคอนกรีตที่แช่ในสารละลายโซเดียมคลอไรด์ 5.0 % เป็นเวลา 28, 56 และ 91 วัน ภายหลังการบ่มน้ำ 28 วัน จากผลการทดลองพบว่า การใช้ซิลิก้าฟูมแทนที่ปูนซีเมนต์ในคอนกรีตทำให้กำลังอัดของคอนกรีตสูงขึ้นและความต้านทานการแทรกซึมคลอไรด์ของคอนกรีตดีขึ้น การใช้ซิลิก้าฟูมแทนที่วัสดุประสานร้อยละ 15 ทำให้คอนกรีตมีกำลังอัดและความต้านทานการแทรกซึมคลอไรด์ดีที่สุด คอนกรีตที่ผสมซิลิก้าฟูมที่อัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสานต่ำมีความต้านทานการแทรกซึมคลอไรด์ ดีกว่าที่อัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสานสูง จากความสัมพันธ์ระหว่างกำลังอัดและประจุไฟฟ้าที่ไหลผ่านของคอนกรีต และความสัมพันธ์ระหว่างกำลังอัดและสัมประสิทธิ์การแพร่คลอไรด์ของคอนกรีตสามารถหาค่าประจุไฟฟ้าที่ไหลผ่านและสัมประสิทธิ์การแพร่คลอไรด์ของคอนกรีตได้ เมื่อกำหนดค่ากำลังอัดของคอนกรีตที่ผสมซิลิก้าฟูมth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณเงินแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectซิลิก้าฟูมth_TH
dc.subjectคอนกรีตแรงอัดth_TH
dc.subjectคอนกรีตth_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.titleความต้านทานการแทรกซึมคลอไรด์ของคอนกรีตผสมซิลิก้าฟูมth_TH
dc.title.alternativeChloride penetration resistance of concrete containing silica fumeen
dc.typeResearch
dc.author.emailtwc@buu.ac.th
dc.year2561
dc.description.abstractalternativeThis research aims to study the chloride penetration resistance and compressive strength of concrete containing silica fume. The silica fume was used to replace binder content at 5%, 7.5%, 10% and 15% by weight. The water to binder ratios were kept at 0.40 and 0.50. Cube specimens of 10×10×10 cm3 size were cast for testing the compressive strength of concrete at 7, 14, 28, 56 and 91 days. Cylindrical specimens of 10-cm diameter and 20-cm height size were cast for testing the rapid chloride penetration of concrete at 7, 28 and 91 days and chloride penetration of concrete submerged in 5.0% solution of sodium chloride for 28, 56 and 91 days after curing in pure water for 28 days. From the experimental results, it was found that the use of silica fume to replace cement in concrete results in higher compression strength and better chloride penetration resistance. The replacement of silica fume in concrete at 15% of binder gives the highest compressive strength and chloride penetration resistance. Concretes containing silica fume at low water to binder ratio have better chloride penetration resistance than those at high water to binder ratio. From the relationship between compressive strength and charge passed of concrete and the relationship between compressive strength and chloride diffusion coefficient of concrete, the charge passed and the chloride diffusion coefficient of concrete can be determined when the compressive strength of concrete is givenen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2562_025.pdf16.76 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น