กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2030
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสร้อยพัทธา สร้อยสุวรรณ
dc.contributor.authorจันทร์ฑา นาควชิระตระกูล
dc.contributor.authorปฏิภาณ บุญรวม
dc.contributor.authorแดง แซ่แบ๊
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:10:38Z
dc.date.available2019-03-25T09:10:38Z
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2030
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสามารถในการเร่งปฏิกิริยาของตัวเร่งปฏิกิริยาสองฟังก์ชันที่มีผลต่อปฏิกิริยาคาร์บอนไดออกไซด์ไฮโดรจิเนชัน โดยทำการศึกษาตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีพื้นที่ผิวของตัวเร่งปฏิกิริยาสองฟังก์ชันที่มีค่าความเป็นกรด-เบสแตกต่างกัน โดยการเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยา CuO/ZnO/Al2O3 ผสมเชิงกายภาพกับตัวเร่งปฏิกิริยา CaO, ZrO2 , ซีโอไลท์ ชนิด A และ HZSM-5 ในอัตราส่วน 2:1 โดยน้ำหนัก ตัวเร่งปฏิกิริยาสองฟังก์ชันจะถูกทดสอบผ่านปฏิกิริยาคาร์บอนไดออกไซด์ไฮโดรจิเนชันที่อุณหภูมิ 250 C ความดันบรรยากาศ ผลการทดลองพบว่าค่าความสามารถในการเร่งปฏิกิริยาของตัวเร่งปฏิกิริยา CuO/ZnO/Al2O3 ผสมกับ HZSM-5 มีค่าสูงที่สุด และค่าความสามารถในการเลือกเกิดผลิตภัณฑ์ ของตัวเร่งปฏิกิริยามีค่าการเลือกเกิดมีเทนสูงและประกอบด้วยไฮโดรคาร์บอนโมเลกุลเบา ได้แก่ อีเทนและโพรเพน ส่วนผลิตภัณฑ์เมทานอลตรวจพบปริมาณต่า และสันนิษฐานว่าตัวเร่งปฏิกิริยาที่ผสม HZSM-5 เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีความเป็นกรดสูงจึงมีการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันแบบลูกโซ่และส่งเสริมการเกิดไฮโดรคาร์บอน C2 และ C3 แทนปฏิกิริยาการเกิดเมทานอลและการดึงน้าออกจากเมทานอลเพื่อผลิตไดเมทิลอีเทอร์th_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectพลังงานสะอาดth_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.subjectแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์th_TH
dc.titleการผลิตแหล่งพลังงานสะอาดจากแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์th_TH
dc.typeResearch
dc.author.emailsoipatta@buu.ac.th
dc.author.emailchantran@buu.ac.th
dc.author.emailpatiparn@buu.ac.th
dc.author.emaildangs@buu.ac.th
dc.year2559
dc.description.abstractalternativeThis research aims to investigate ability of bifunctional catalysts for carbon dioxide hydrogenation. The bifunctional catalysts were prepared by variation of the base-acid strength of the second catalyst. The mian catalysts i.e. CuO/ZnO/Al2O3 was physically mixed with the second catalysts i.e. CaO, ZrO2, zeolite type A or HZSM-5 at weight ratio of 2:1. The carbon dioxide hydrogenation was carried out at 250 oC under atmospheric pressure. The results revealed the most active catalyst was CuO/ZnO/Al2O3 mixing with HZSM-5. This catalyst gave hydrocarbon products i.e. CH4, C2H6 and C3H8, while as methanol was rarely found. This is possibly because of polymerization by high acid strength on HZSM-5 causing carbon based molecules to be hydrogenated and form CH4, C2H6 and C3H8 instead of methanol synthesis and dehydrogenation of methanol to dimethyl etheren
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2563_047.pdf3.15 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น