กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2003
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorทวีชัย สำราญวานิช
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:10:04Z
dc.date.available2019-03-25T09:10:04Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2003
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มุ่งศึกษาผลกระทบของตะกรันเตาถลุงเหล็กบดและผงหินปูนต่อคุณสมบัติ ด้านความต้านทานคลอไรด์และกําลังอัดของคอนกรีต โดยทดสอบความต้านทานการแทรกซึม คลอไรด์แบบเร่งและกําลังรับแรงอัดหลังจากบ่มน้ำที่ 28 วัน 91 วัน และ 182 วัน และแบบแช่ใน สารละลายเกลือคลอไรด์เข้มข้น 3.0% ที่ระยะเวลา 28 วัน 91วัน และ 365 วันตามลําดับ ใช้ อัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสานเท่ากับ 0.40 และ 0.50 อัตราส่วนแทนที่วัสดุประสานด้วยตะกรันเตา ถลุงเหล็กบดที่ร้อยละ 20 ถึง 70 อัตราส่วนแทนที่วัสดุประสานด้วยผงหินปูนที่ร้อยละ 5 ถึง 15 จากผลการศึกษาพบว่า คอนกรีตที่ผสมตะกรันเตาถลุงเหล็กบดและคอนกรีตที่ผสม ตะกรันเตาถลุงเหล็กบดรวมกับผงหินปูนมีความต้านทานคลอไรด์สูงกว่าคอนกรีตที่ใช้ปูนซีเมนต์ ล้วน กําลังอัดของคอนกรีตที่ผสมตะกรันเตาถลุงเหล็กบดมีค่าสูงขึ้นเมื่อปริมาณตะกรันเตาถลุง เหล็กเพิ่มมากขึ้น ยกเว้นที่ร้อยละ 70 คอนกรีตที่ผสมตะกรันเตาถลุงเหล็กบดรวมกับผงหินปูนจนถึง ร้อยละ 15 มีสัมประสิทธิ์การแพร่คลอไรด์ลดลงเป็นสัดส่วนเชิงเส้นกับระยะเวลาเผชิญคลอไรด์th_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณเงินแผ่นดิน) ประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2558 มหาวิทยาลัยบูรพาen
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectคอนกรีตเสริมเหล็กth_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.subjectเกลือคลอไรด์th_TH
dc.titleความต้านทานคลอไรด์ของคอนกรีตผสมตะกรันเตาถลุงเหล็กและผง หินปูนth_TH
dc.title.alternativeChloride resistance of concrete containing ground-granulated blast furnace slag and limestone powderen
dc.typeResearch
dc.year2560
dc.description.abstractalternativeThis research aims to study the effect of ground-granulated blast furnace slag (GGBFS) and limestone powder (LP) on chloride resistance of concrete. The rapid chloride penetration test and compressive strength test were performed at the water curing ages of 28, 91 and 182 days. Bulk chloride diffusion tests were performed after 28, 91 and 365 days submerged in 3.0% chloride solution. The water to binder ratios of 0.40 and 0.50 were used. GGBFS and LP were used as cement replacing materials at the ratios of 20% to 0.70% and 5% to 15%, respectively. From the experimental results, it was found that GGBFS concrete and concrete containing GGBFS and LP had higher chloride resistance than cement concrete. The compressive strength of concrete increased with the increasing of GGBFS content and was higher than cement concrete, except for the concrete with 70% of GGBFS content. Concrete containing GGBFS and LP up to 15% binder replacement had linearly lower chloride diffusion coefficient with longer chloride exposure period.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น