กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2001
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorทวีชัย สำราญวานิช
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:10:04Z
dc.date.available2019-03-25T09:10:04Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2001
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มุ่งพัฒนาแบบจําลองการคํานวณการแทรกซึมคลอไรด์ของคอนกรีตผสม ตะกรันเตาถลุงเหล็กบดและแบบจําลองการคํานวณการแทรกซึมคลอไรด์ของคอนกรีตผสมวัสดุ สร้างผลึก โดยแต่ละแบบจําลองประกอบด้วยแบบจําลองหลัก 3 แบบจําลอง ได้แก่ แบบจําลอง ความสามารถเก็บกักคลอไรด์ แบบจําลองสัมประสิทธิ์การแพร่คลอไรด์และแบบจําลองการดึงดูด อิออนคลอไรด์ และในแต่ละแบบจําลองหลักของแบบจําลองการคํานวณการแทรกซึมคลอไรด์ของคอนกรีตผสมตะกรันเตาถลุงเหล็กบดได้คํานึงถึงผลกระทบของอัตราส่วนตะกรันเตาถลุงเหล็กบด ต่อวัสดุประสาน อัตราส่วนนำต่อวัสดุประสาน ปริมาณวัสดุประสานและระยะเวลาเผชิญคลอไรด์ ส่วนแบบจําลองหลักของแบบจําลองการคํานวณการแทรกซึมคลอไรด์ของคอนกรีตผสมวัสดุสร้าง ผลึกได้คํานึงถึงผลกระทบของอัตราส่วนเถ้าลอยต่อวัสดุประสาน อัตราส่วนนำต่อวัสดุประสาน อัตราส่วนวัสดุสร้างผลึกต่อวัสดุประสาน ระยะเวลาบ่มนำและระยะเวลาเผชิญคลอไรด์ในแบบจําลอง จากการศึกษาพบว่า แบบจําลองทั้งสองที่พัฒนาขึ้นสามารถคํานวณการแทรกซึมคลอไรด์ของคอนกรีตผสมตะกรันเตาถลุงเหล็กบดและคอนกรีตผสมวัสดุสร้างผลึกได้ที่ส่วนผสม คอนกรีตและระยะเวลาเผชิญคลอไรด์ต่าง ๆ และผลที่ได้จากการคํานวณมีความถูกต้องที่น่าพอใจ กับผลการทดลอง นอกจากนี้แบบจําลองยังสามารถใช้ทํานายอายุการใช้งานที่ปลอดการบํารุงรักษา ซ่อมแซมของโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กที่เผชิญสิ่งแวดล้อมทะเลได้เมื่อทราบค่าปริมาณ คลอไรด์วิกฤตของคอนกรีต ดังนั้นจึงสามารถประยุกต์ใช้แบบจําลองในการออกแบบส่วนผสม คอนกรีตเพื่อต้านทานต่อการทําลายของเกลือคลอไรด์ภายใต้สิ่งแวดล้อมทะเลได้th_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณเงินแผ่นดิน) ประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2558 มหาวิทยาลัยบูรพาen
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectคอนกรีตเสริมเหล็กth_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.subjectเกลือคลอไรด์th_TH
dc.titleการศึกษาการแทรกซึมคลอไรด์ของคอนกรีตเพื่อทํานายอายุการใช้งานของโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก (ปีที่ 1)th_TH
dc.title.alternativeA study of chloride penetration of concrete for predicting the service-life of reinforced concrete structureen
dc.typeResearch
dc.year2560
dc.description.abstractalternativeThis research aims to develop the model for determining chloride penetration profile in concrete with ground granulated blast-furnace slag (GGBFS) and the model for determining chloride penetration profile in concrete with crystalline material. Each model consists of 3 main models, which are chloride binding capacity model, chloride diffusion coefficient model, and chloride ion adsorption model. The effect of GGBFS to binder ratio, water to binder ratio, binder content and chloride exposure period were considered in the models of concrete with GGBFS. For the models of concrete with crystalline material, the effect of fly ash to binder ratio, water to binder ratio, crystalline material to binder ratio, curing and chloride exposure periods, were considered. From the study, it was found that both developed models can determine the chloride penetration profile of various concrete mixtures at different chloride exposure periods. The determination results of chloride penetration profile have been found in satisfactory agreement with the experimental results. Moreover, the models can predict the repair-free service life of reinforced concrete structures exposed to marine environment when the threshold chloride values of concrete are known. Thus, the models can be applied in the design of concrete mixtures for resisting the chloride attack under marine environmenten
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2560_040.pdf16.46 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น