กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2000
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorทวีชัย สำราญวานิช
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:10:04Z
dc.date.available2019-03-25T09:10:04Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2000
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มุ่งศึกษากําลังรับแรงดัดของคานคอนกรีตเสริมเหล็กที่ผสมเส้นใยเหล็ก ภายหลังเผชิญสิ่งแวดล้อมเกลือคลอไรด์ โดยหล่อคานคอนกรีตเสริมเหล็กขนาด 0.15x0.275x1.80 เมตร ที่เสริมเหล็กเหมือนกันจํานวน 7 ตัว โดยมีเส้นใยเหล็กปริมาณ 0.5% โดยปริมาตรของคอนกรีตในคานจํานวน 5 ตัว มีคานจํานวน 4 ตัว อยู่ภายใต้สิ่งแวดล้อมเกลือคลอไรด์ 5% และ ควบคุมสภาวะเปียกสลับแห้ง (เปียก 5 วันและแห้ง 2 วัน) ต่อหนึ่งวัฏจักร ส่วนคานอีก 3 ตัวอยู่ใน สิ่งแวดล้อมที่ไม่มีเกลือคลอไรด์ (น้ำเปล่า) โดยมีสภาวะเปี ยกสลับแห้งเหมือนกัน ภายหลังเผชิญ สภาวะเปียกสลับแห้งจนกระทั่งคานคอนกรีตในทั้งสองสิ่งแวดล้อมเกิดการเสียหายเนื่องจากพบ สนิมขึ้นที่ผิวคานคอนกรีตตามแนวเหล็กปลอก ซึ่งพบว่าคานคอนกรีตเสริมเหล็ก ในสิ่งแวดล้อม เกลือคลอไรด์เกิดความเสียหายมากกว่าคานคอนกรีตเสริมเหล็กในสิ่งแวดล้อมไม่มีเกลือคลอไรด์ จากนั้นทดสอบกําลังรับแรงดัดของคานจนวิบัติ จากข้อมูลกําลังดัดที่ได้และทฤษฎีกําลังรับแรงดัด ของคานคอนกรีตเสริมเหล็กที่ผสมเส้นใยเหล็ก สามารถประมาณพื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริมที่สูญเสีย ไปเนื่องจากการเกิดสนิมโดยการคํานวณย้อนกลับได้ นอกจากนี้ ได้ออกแบบและพัฒนาระบบการควบคุมสภาวะเปียกสลับแห้งแบบอัตโนมัติ ทํางานด้วยการตั้งเวลา เพื่อํานวยความสะดวกในการทดลองสภาวะเปียกสลับแห้ง โดยสูบนน้ำขึ้น เก็บในถังเป็นเวลา 120 ชั่วโมง (แห้ง) และปล่อยน้ำลงอ่างแช่เป็นเวลา 48 ชั่วโมง (เปียก) รวมเวลา ต่อหนึ่งรอบของสภาะเปียกสลับแห้ง 168 ชั่วโมงth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณเงิน แผ่นดิน) ประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2558th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectคานคอนกรีต -- การเสริมแรงth_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.titleกําลังและความคงทนของคานคอนกรีตเสริมเหล็กผสมเส้นใยเหล็กภายใต้ การทําลายของเกลือคลอไรด์th_TH
dc.title.alternativeStrength and durability of reinforced-concrete beam with steel fiber under chloride attacken
dc.typeResearch
dc.author.emailtwc@buu.ac.th
dc.year2560
dc.description.abstractalternativeThis research aims to study the flexural strength of steel fiber reinforced concrete beams after exposed to chloride environment. Seven reinforced concrete beams of 0.15x0.275x1.80 m size with a constant reinforcement ratio were cast and five of them had steel fiber content of 0.5% by volume of concrete. Four beams were exposed to 5% chloride environment and under cyclic wetting and drying condition (5-day wet and 2-day dry per cycle). The others were exposed to no-chloride environment (pure water) and under cyclic wetting and drying condition. After exposure until some deterioration of steel corrosion were occurred along stirrup bars of beams. It was found that reinforced concrete beams in chloride environment were more deteriorated than those in no-chloride environment. Then, all beams were tested to investigate the flexural strength. From the experimental results and flexural strength theory of reinforced concrete with steel fiber, the loss of cross sectional area of reinforcing steel due to corrosion can be estimated by back calculation. Moreover, an automatic system of cyclic wetting and drying condition was designed and developed in this study in order to facilitate the experiment of cyclic wetting and drying condition. The water was sucked up to the tank for 120 hours (Dry) and released to the bath for 48 hours (Wet). The total period of cyclic wetting and drying was 168 hours per cycleen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2560_042.pdf10.93 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น