กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1938
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | อาณัติ ดีพัฒนา | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:09:58Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:09:58Z | |
dc.date.issued | 2559 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1938 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอต้นแบบที่มีประสิทธิภาพในการตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ E. coli/ coliform และ E. coli O157:H7 ในตัวอย่างผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม โดยใช้เทคโนโลยีการเพาะเชื้อระดับจุลภาพ (micro inoculation culture) ซึ่งมีกล้องดิจิตอลกำลังขยายสูง (digital microscope) สำหรับเร่งการตรวจพบโคโลนี เทคโนโลยี การเพาะเชื้อระดับจุลภาคเป็นการใช้ 96-well U-bottomed polyproylene plate ที่ได้ถูกพัฒนาจากเทคนิคการ spread plate โดยเป้นการปรับเปลี่ยนวิธีการวิเคราะห์ของผิวหน้าเทคนิค spread plate อาหาร Chromocult Coliform agar (CCA) ถูกนำมาใช้เป็นอาหารสำหรับการตรวจวิเคราะห์เชื้อ โดยอาหารดังกล่าวมีส่วนผสมของโครมาเจนิกซับเสตรททำให้เกิดการฟอร์มตัวของโคโลนีสีม่วงซึ่งเป็นโคโลนีของ E. coli และโคโลนีสีชมพูหรือแดงที่อาจจะเป็นโคโลนีจาก E. coli O157:H7 ทั้งนี้ข้อด้อยของวิธีการที่นำเสนอเป็นการลดขนาดการวิเคราะห์ โดยจำกัดปริมาตรของตัวอย่างที่ใช้วิเคราะห์ประมาณ 10-20 u1 และให้ระดับปริมาณเชื้อต่ำสุดที่สามารถตรวจพบได้ที่ปริมาณ 10 2 CFU/ml อย่างไรก็ตามห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ของโรงงานอุตสาหกรรมอาหารโดยทั่วไปใช้ปิเปตแก้วซึ่งสามารถที่จะตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนของเชื้อได้ที่ปริมาณต่ำสุดที่ประมาณ 10 CFU/ml ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบผลการนับปริมาณเชื้อจากทั้ง 2 วิธี พบว่าให้ผลที่สอดคล้องไปในแนวทางเดียวกัน โดยประสิทธิภาพของเทคนิคการลดขนาดการวิเคราะห์ สามารถที่จะจัดการกับปริมาณตัวอย่างจำนวนมากด้วยการใช้ 96-well U-bottomed polypropylene plate ร่วมกับการใช้อุปกรณ์ลำเลียงตัวอย่างผ่าน multichannel pipette และติดตามการตรวจหาโคโลนีด้วยกล้องดิจิตอลกำลังขยายสูงร่วมกับการใช้อุณหภูมิบ่มที่เหมาะสมที่ 37' C สามารถให้ผลการวิเคราะห์ภายในเวลา 12-16 h อีกทั้งเมื่อทำการสอบเทียบวิธีการวิเคราะห์ที่ได้นำเสนอ (MIC) กับวิธีการที่ยังคงมีใช้ในปัจจุบัน ได้แก่ MPN method, Petrifilm TM by 3M และ pour plate ปริมาณโคโลนีที่นับได้จากผลิตภัณฑ์อาหารให้ผลที่เหมือนกันเป็นที่ยอมรับเมื่อเทียบกับวิธีการทางมาตรฐาน อีกทั้งผลการประเมินจากเจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ QC ในการใช้เทคโนโลยีดังกล่าว ให้คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจในการใช้งานอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างสูงเมื่อเปรียบเทียบกับวิธี pour plate ที่ทางโรงงานใช้ เทคโนโลยีการเพาะเชื้อระดับจุลภาค เพื่อการนับโคโลนีเหล่านี้สามารถใช้แทนที่วิธีการที่มีการใช้อยู่ในปัจจุบันซึ่งมีความล่าช้าและยุ่งยาก อีกทั้งช่วยเพิ่มความคุ้มค่าเชิงเศรษฐศาสตร์ในแง่ของราคาต้นทุนการวิเคราะห์ต่อตัวอย่าง | th_TH |
dc.description.sponsorship | โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | คอลิฟอร์ม | th_TH |
dc.subject | โรคทางเดินอาหาร | th_TH |
dc.subject | เชื้ออีโคไล | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ | th_TH |
dc.title | การพัฒนานวัตกรรมชุดตรวจสอบวิเคราะห์เชื้ออีโคไล/ คอลิฟอร์ม และอีโคไล 0157:H7 ที่ก่อให้เกิดโรคทางเดินอาหารที่สามารถวิเคราะห์ตัวอย่างจำนวนมากในเวลาอันสั้น สำหรับผลิตภัณฑ์อาหารส่งออกของประเทศ | th_TH |
dc.title.alternative | Development of high throughput and rapid detection kits for E. coli/ coliform and E. coli 0157: H7 to assure pathogen-free in Thailand export food products | en |
dc.type | งานวิจัย | |
dc.author.email | anat@buu.ac.th | |
dc.year | 2559 | |
dc.description.abstractalternative | This research aimed to propose efficient protocols to accelerate the colony count as well as E. coli/coliform and E. coli O157:H7 detection for industrial samples. Micro Inoculation Culture (MIC), together with digital microscopy, was utilized to expedite colony detection and economically improve the analytical cost per sample. Unlike medical samples from clinics, samples associated with food products and the environment they come into contact with during their processing are characterized by low initial cell counts and large sample volumes. This calls for different strategies of handing, especially in low-resource settings and in less advanced food industrial laboratories. This paper compares three popular industrial methodologies; MPN method, Petrifilm TM by 3M, and the standard pour plate technique, relative to a modified surface spread technique using 96-well U-bottomed polypropylene plate. The colony enumeration results obtained from each technique showed good agreement. The miniaturized rapid protocol efficiently managed a large number of samples using multichannel autopipettes and a high throughput design utilizing 96-well microtiter plates. Useful colony counts were obtained within 12-16 h. The analytical efficacy of the miniaturized protocol surpassed those of the three conventional methods. The colony counts from ready-to-eat product samples showed comparable results to the pour plate technique, displaying good agreement with the universally-accepted standard. The feedback by QC staff from a local Thai food factory revealed good overall acceptance of the MIC method with respect to usability, protocol design and method efficiency. The proposed miniaturized technique gave highly consistent results of colony count numbers and good colony separation. This colony enumeration consistency suggests that the miniaturized rapid protocol can economically replace the slower more complex standard protocols as an in-house protocol for food processing environment swabs | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2560_072.pdf | 22.85 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น