กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1929
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | พิมพ์ทอง ทองนพคุณ | |
dc.contributor.author | เมธินี จามกระโทก | |
dc.contributor.author | พร้อมพงศ์ เพียรพินิจธรรม | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. คณะอัญมณี | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. คณะวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:09:58Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:09:58Z | |
dc.date.issued | 2559 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1929 | |
dc.description.abstract | เงินเป็นโลหะมีค่าสำหรับอุตสาหกรรมเครื่องประดับ เครื่องประดับเงินเมื่อสัมผัสอากาศจะเกิดการหมองเนื่องจากเงินทำปฏิกิริยากับอนุภาคซัลเฟอร์ ดังนั้นกรรมวิธีปรับปรุงผิวและการเคลือบผิวเพื่อป้องกันการหมองของเงินจึงถูกพัฒนาขึ้นหลากหลายวิธี อย่างไรก็ตามแต่ละวิธีมีข้อจำกัดและข้อเสียแตกต่างกัน งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอนุภาคทองคำระดับนาโนเมตรและแผ่นทองคำระดับไมโครเมตรสำหรับการเคลือบผิวเพื่อป้องกันการหมองของโลหะเงิน ในงานวิจัยนี้ อนุภาคทองคำระดับนาโนเมตรและแผ่นทองคำระดับไมโครเมตรถูกสังเคราะห์ขึ้นด้วยกระบวนการทางเคมี รวมถึงศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อขนาดอนุภาคของทองที่สังเคราะห์ได้ กระบวนการเคลือบอนุภาคทองหลายชั้นทำได้โดยเทคนิคการเคลือบแบบจุ่มอย่างง่ายในสารละลายทองคำที่ละลายในเอทิลีนไกคอล การศึกษาความสามารถในการต้านทานการหมองของเงินที่ผ่านการเคลือบทดสอบภายใต้สภาวะสารละลายโซเดียมซัลไฟด์ การตรวจวัดค่าสีเพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงของสีภายหลังการเคลือบด้วยทองและการทดสอบกันหมองใช้ระบบมาตรฐาน CIELAB ด้วยเครื่องยูวีวิสิเบิลสเปกโทรมิเตอร์ ผลการวิจัยพบว่าการเคลือบผิวเงินด้วยอนุภาคทองคำระดับนาโนเมตรและแผ่นทองคำระดับไมโครเมตรมีประสิทธิภาพ เมื่อเคลือบแล้วมองไม่เห็นการเปลี่ยนสีด้วยตาเปล่า และสามารถต้านทานการหมองของเงินได้ เทคนิคที่พัฒนาขึ้นในงานวิจัยนี้ไม่เพียงแต่มีประโยชน์ในอุตสาหกรรมเครื่องประดับเงินเท่านั้น แต่อาจสามารถประยุกต์เพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมโลหะอื่นได้อีกด้วย | th_TH |
dc.description.sponsorship | โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะอัญมณี มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | เครื่องประดับ | th_TH |
dc.subject | เงิน | th_TH |
dc.title | การป้องกันการหมองของเครื่องประดับเงินด้วยอนุภาคทองคำระดับนาโนเมตร | th_TH |
dc.title.alternative | Tarnish protection of silver jewelry by gold nanoparticles | en |
dc.type | Research | |
dc.author.email | pimthong@buu.ac.th | |
dc.year | 2559 | |
dc.description.abstractalternative | Silver is a promising precious metal for jewelry industry. The silver jewelry findings exposed to air will tarnish because it comes into contact with sulfur particles in atmospheres. Therefore, surface treatments and coating methods were developed to protect tarnishing of silver. However, the methods still have several limitations and disadvantages. The objective of this research was to develop gold nanoparticles and gold microplates for surface coating and tarnish resistance of silver. In this study, the gold nanoparticles and gold microplates were synthesized by chemical reduction methods and influence of the synthesis parameters on the particle sizes was examined in detail. Multilayer coating of gold particles were performed by a simple dip coating method to produce the gold film using a gold coating solution, which disperses gold particles in ethylene glycol solution. An investigation on the anti-tarnish properties of the coated silvers was performed under sodium sulphide solution. To specify the color change after multilayer coatings of gold particles and tarnishing test, the color measurement were determined according to the Commission Internationale d’ Eclairage (CIELAB) standard by UV-visible spectrometer. Finally, it was found that the silver coatings with gold nanoparticles and microplates are efficient, invisible and against tarnishing. The developed techniques in this research not only utilized for silver jewelry industry but also may apply for other metal industrial developments | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2563_088.pdf | 3.66 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น