กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1913
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorพิสิษฐ์ พิริยาพรรณ
dc.contributor.authorเวธกา กลิ่นวิชิต
dc.contributor.authorพวงทอง อินใจ
dc.contributor.authorสิริลักษณ์ โสมานุสรณ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะแพทยศาสตร์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:09:56Z
dc.date.available2019-03-25T09:09:56Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1913
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการเตรียมความพร้อมสู่การตายอย่างสงบตามความต้องการของผู้สูงอายุและครอบครัว โดยการระดมความคิดร่วมกับบุคลากรทางการแพทย์ ประชากร คือ ผู้สูงอายุ สมาชิกในครอบครัวและชุมชน ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ผู้ปฏิบัติงานหรือทีมบุคลากรทางการแพทย์ในสถานพยาบาลภาคตะวันออก กลุ่มตัวอย่าง คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจงจากผู้ป่วยสูงอายุที่มารับบริการ ณ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย จำนวน 30 คน สมาชิกในครอบครัวหรือผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุ จำนวน 30 คน และ ผู้ปฏิบัติงานหรือทีมบุคลากรทางการแพทย์ในสถานพยาบาล จำนวน 5 คน รวมทั้งสิ้น 65 คน ขั้ยตอนการศึกษาวิจัย ดำเนินการศึกษาวิจัยตามกระบวนการวิจัยแบบมีส่วนร่วม แบ่งเป็น 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การค้นหาปัญหา 2) การวางแผนแก้ปัญหา 3) การลงมือปฏิบัติ 4) การสะท้อนผลการปฏิบัติและประเมินผล เก็บข้อมูลโดยวิธีวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนากลุ่ม การสังเกตุแบบมีส่วนร่วมและการตอบแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา และสถิติเชิงพรรณา ผลการศึกษาวิจัยพบว่า องค์ประกอบที่สำคัญของรูปแบบเตรียมความพร้อมสูงการตายอย่างสงบที่โรงพยาบาล มี 3 ส่วน คือ 1. การเตรียมความพร้อมก่อนการตาย 2. การเตรียมความพร้อมขณะที่กำลังจะเสียชีวิต 3. การเตรียมความพร้อมหลังการตาย โดยมีความต้องการที่สำคัญของผู้ป่วยสูงอายุ และครอบครัวที่ต้องการดูแล ดังนี้ 1. การสื่อสารข้อมูลการรักษาและข้อมูลอื่น ๆ ที่จำเป็น 2. การรับรู้ความรุนแรงของโรคและอาการของผู้ป่วยสูงอายุที่ใกล้ตาย 3. การวางแผนรักษาพยาบาลและการจัดการความรุนแรงของโรคและอาการของผู้ป่วยสูงอายุที่ใกล้ตาย 4. การสนับสนุนและส่งเสริมด้านจิตสังคมและจิตวิญญาญาณ The study was a participatory action research aims to develop a model to prepare peaceful end-of-life care in the hospital of the elderly and their families in the Eastern region of Thailand. Sample purposive selected from 30 the elderly patients who were admitted at Burapha University Hospital, 30 family members or caregivers and 5 health workers or medical teams in the hospital, total 65 persons. The participatory research processes were conducted in four stages: 1) Identification needs or seeking problems 2) planning solution, 3) practice 4) to reflect the performance and evaluation. Collecting data by using quantitative and qualitative research methods. In-depth interviews, Focus group, participatory observation and questionnaires. Data were analyzed by using content analysis and descriptive statistics. This study showed that the major components of preparing peaceful end-of-life care model at a hospital has three parts: 1. preparation before died 2. Preparing for the upcoming dead 3. Preparation post death. The critical needs of elderly patients and family care needs contained of : 1. Communications about treatment and other necessary information 2. The perceived severity of the disease and the symptoms of elderly patients while dying 3. Participatory in treatment planing and management of severity of the disease, symptoms and the elderly dying and 4. Supporting in psycho social and spiritual with respect.th_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557en
dc.language.isoth
dc.publisherคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการตายth_TH
dc.subjectผู้ป่วยระยะสุดท้ายth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleรูปแบบการเตรียมความพร้อมของผู้สูงอายุและครอบครัวสู่การตายอย่างสงบที่โรงพยาบาล (ปีที่ 2)th_TH
dc.title.alternativePreparing peaceful end-of-life care model: hospital based (Phase II)th_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailpisit@buu.ac.th
dc.author.emailwethaka@buu.ac.th
dc.author.emailpuangtong@buu.ac.th
dc.author.emailsiriluk@buu.ac.th
dc.year2558
dc.description.abstractalternativeThe study was a participatory action research aims to develop a model to prepare peaceful end-of-life care in the hospital of the elderly and their families in the Eastern region of Thailand. Sample purposive selected from 30 the elderly patients who were admitted at Burapha University Hospital, 30 family members or caregivers and 5 health workers or medical teams in the hospital, total 65 persons. The participatory research processes were conducted in four stages: 1) Identification needs or seeking problems 2) planning solution, 3) practice 4) to reflect the performance and evaluation. Collecting data by using quantitative and qualitative research methods. In-depth interviews, Focus group, participatory observation and questionnaires. Data were analyzed by using content analysis and descriptive statistics. This study showed that the major components of preparing peaceful end-of-life care model at a hospital has three parts: 1. preparation before died 2. Preparing for the upcoming dead 3. Preparation post death. The critical needs of elderly patients and family care needs contained of : 1. Communications about treatment and other necessary information 2. The perceived severity of the disease and the symptoms of elderly patients while dying 3. Participatory in treatment planing and management of severity of the disease, symptoms and the elderly dying and 4. Supporting in psycho social and spiritual with respecten
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2560_100.pdf2.93 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น