กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1891
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorนันทรัตน์ บุนนาค
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. คณะอัญมณี
dc.date.accessioned2019-03-25T09:09:55Z
dc.date.available2019-03-25T09:09:55Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1891
dc.description.abstractการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบทางเคมีกับค่าดัชนีหักเหของการ์เนตกลุ่มไพราลสไปท์ ศึกษาตัวอย่างการ์เนตกลุ่มสีแดง แดงมืด แดงอมม่วง ม่วงแดง จำนวน 117 เม็ด ตัวอย่างกลุ่มสีส้ม ส้มอมชมพู ส้มอมแดงมืด จานวน 60 เม็ด และการ์เนตเปลี่ยนสี จานวน 10 เม็ด พบว่า การ์เนตสีแดงมืดมีองค์ประกอบเป็นไพโรปต่อแอลมันดีนอัตราส่วนประมาณ 1:1 การเนตสีแดงอมม่วง ม่วงแดงอาจเป็น ไพโรปที่ไม่มีแอลแมนดีน ไพโรปต่อแอลแมนดีนอัตราส่วนประมาณ 2:1 หรือ ไพโรปต่อแอลแมนดีนอัตราส่วนประมาณ 1:2 ตัวอย่างสีส้มมีองค์ประกอบเป็นสเปสซาร์ทีน การ์เนตสีส้มอมชมพูมีองค์ประกอบเป็นไพโรปต่อสเปสซาร์ทีนอัตราส่วนประมาณ 1:1 โดยมีวาเนเดียมที่มีอิทธิพลต่อการเกิดปรากฏการณ์การเปลี่ยนสี ค่าดัชนีหักเหของตัวอย่างที่มีองค์ประกอบเป็นไพโรปมีค่าต่าที่สุดในการทดลองนี้คือ 1.745 เมื่อมีแอลแมนดีน และ/ หรือสเปสซาร์ทีนมาผสมทาให้ค่าดัชนีหักเหเพิ่มขึ้นได้มากกว่า 1.81 การใช้ค่าดัชนีหักเหคาดการณ์องค์ประกอบนั้นใช้ได้แบบหยาบเท่านั้น เนื่องจากมี องค์ประกอบหลากหลายที่สามารถอ่านค่าดัชนีหักเหได้ค่าเดียวกันth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2558en
dc.language.isoThth_TH
dc.publisherคณะอัญมณี มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรีth_TH
dc.subjectพลอยการ์เนตth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์th_TH
dc.titleการจำแนกพลอยการ์เนตth_TH
dc.title.alternativeClassification for Gem Garnetth_TH
dc.typeResearch
dc.year2558
dc.description.abstractalternativeThe relationship of the chemical composition and refractive index of pyralspite garnet was done by using 3 groups of samples, i.e. 117 samples of red, dark red, purplish red and purple garnet; 60 orange, pinkish orange and dark reddish orange samples; 10 color change garnet. The Chemical compositions show that the composition of the dark red samples are pyrope : almandine, approximately 1:1 ratio. There are more than one composition of the red, purplish red and purple samples, it can be only pyrope and pyrope : almandine, both 1:2 and 2:1 ratios. The orange samples are spessartine. While the pinkish orange samples are spessartine : pyrope in 1:1 ratio with vanadium content related to the change of color effect. The lowest refractive index of the sample is 1.745 which is pyrope, the refractive index may increases up to over the limit of the RI liquid (1.81) in pyrope mixed with almandine and/or spessartine. The use of refractive index to determine garnet’s end member can be done roughly.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2560_084.pdf12.4 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น