กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1879
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | พวงทอง อินใจ | |
dc.contributor.author | สมหมาย แจ่มกระจ่าง | |
dc.contributor.author | ศรีวรรณ ยอดนิล | |
dc.contributor.author | น้ำทิพย์ คำแร่ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะแพทยศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:09:54Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:09:54Z | |
dc.date.issued | 2559 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1879 | |
dc.description.abstract | ประเทศไทยจะก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ อย่างสมบูรณ์แบบในช่วงประมาณ 2573 การก้าวสู่วัยสูงอายุเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่การใช้ชีวิตในวัยสูงอายุอย่างมีคุณภาพคือสิ่งที่สำคัญกว่า โดยเฉพาะเมื่อได้ใช้ชีวิตแบบจิตสาธารณะ ที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม การวิจัยนี้ เป็นการศึกษาคุณลักษณะผู้สูงอายุจิตอาสาต้นแบบ กระบวนการดำเนินกิจกรรมจิตอาสา และแนวทางการพัฒนา ผู้สูงอายุจิตอาสาเมืองแสนสุข โดยรูปแบบการวิจัยเชิงปรากฏการณ์วิทยา (Phenomenological research) ใช้วิธีการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) แบบลูกโซ่ (snow ball) ในกลุ่มผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป มีประสบการณ์การทำงานเป็นจิตอาสา ในเขตเทศบาลเมืองแสนสุข อย่าง ต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 3 เดือน สามารถสื่อสารและช่วยเหลือตนเองได้ และสมัครใจให้ข้อมูล จำนวน 17 ราย การเก็บข้อมูลใช้วิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth interview) และสนทนากลุ่มย่อย (Focus group) แล้ววิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) ผลการวิจัยพบว่าผู้สูงอายุจิตอาสา มีประสบการณ์การทำงานจิตอาสา ระยะเวลานานที่สุด มากกว่า 10 ปี ทุกคนปฏิบัติงานจิตอาสาอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง มีคุณลักษณะสำคัญ 5 ประการ ได้แก่ มีใจรัก (Integrity) มีเวลา (Flexibility) มีความพร้อมส่วนตน (Energy) มีวินัย (Reliability) และมีความรับผิดชอบ (Responsibility) กระบวนการดำเนินกิจกรรมจิตอาสาระหว่างผู้สูงอายุจิตอาสา กับหน่วยงานแบบยั่งยืน แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ 1) หน่วยงาน/ องค์กรที่ต้องการให้มีจิตอาสา มาปฏิบัติ ดำเนินการโดย 5 ขั้นตอน คือ ให้การยอมรับ กำหนดขอบเขตภารกิจที่ต้องการให้ช่วยปฏิบัติ ระบุพื้นที่ที่ต้องปฏิบัติ กำหนดบุคคลประสานงานหลัก คัดเลือก และปฐมนิเทศ และ 2) ผู้สูงอายุที่สนใจปฏิบัติงานจิตอาสา ให้ศึกษาขอบเขตงานที่จะปฏิบัติ เลือกพื้นที่ปฏิบัติ เตรียมความพร้อมส่วนตน จัดการตนเองให้พร้อมในการปฏิบัติ และเข้าร่วมดำเนินกิจกรรม และประเมินผล โดยมีประเด็นการเชื่อม 2 ส่วนนี้โดยการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่าง ๆ การติดต่อกับบุคคลโดยตรง และการประชุมอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนแนวทางการพัฒนาผู้สูงอายุจิตอาสาเมืองแสนสุขในประเด็นด้านความรู้ที่จำเป็นสำหรับการดำเนินกิจกรรม ทักษะความสามารถพิเศษ เช่น สิ่งประดิษฐ์ งานฝีมือ การทำขนม การทำอาหาร เป็นต้น การบริหารเวลา ความพร้อมส่วนตนด้านสุขภาพ และใจรักงานจิตอาสา เพื่อให้เกิดความยั่งยืนในการปฏิบัติงาน อันนำไปสู่ประโยชน์สูงสุดทั้งแก่องค์กร และผู้สูงอายุ จิตอาสา ทั้งนี้ต้องอยู่ภายใต้บริบทของผู้สูงอายุและกติกาของหน่วยงานนั้น ๆ | th_TH |
dc.description.sponsorship | งานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากสำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2557 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | จิตอาสา | th_TH |
dc.subject | ผู้สูงอายุ | th_TH |
dc.subject | ภูมิปัญญาท้องถิ่น | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ | th_TH |
dc.title | พัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นแสนสุขและจิตอาสาผู้สุงอายุ | th_TH |
dc.title.alternative | Developing of local wisdom and volunteer spirit among the elderly at Saensuk Municipality | en |
dc.type | Research | |
dc.year | 2559 | |
dc.description.abstractalternative | Thailand is moving towards an aging society and needs to encourage the elderly to show their potentialities to help society and prides through voluntary activities. This study explored the characteristics of senior volunteers living in Saensuk Municipality, Chonburi, Thailand. A probable sustainable principle of senior volunteer mainstay development was proposed. 17 elderly who have had experienced in voluntary work at least three months were included. A phenomenological research, in-depth interview and focus group discussions were used. Then, data were analyzed by content analysis. The result revealed that, most of senior volunteers who gave information and practice at least once a week were experienced for over 10 years. Their missions were acted as information provider, demonstrator, coordinators, and donator. Their important characteristics were integrity, flexibility, energy, reliability, and responsibility. As volunteers, they had a feeling of happiness, self-value, healthy, increasing friendships and self-empowerment. The key principle to be probably led to success in sustainable voluntary activities including firstly, an organization should have sense of appreciation clearly identify the work unit assign a key coordinator incrusted determine to be a volunteer qualification and demonstration before the beginning of voluntary activities. Secondly, voluntary elderly should learned scope of work, selected an area, and subsequence, preparing to be ready themselves, working and evaluation. Mutual benefit should be derived from both parties. A principles of senior volunteer leader development should be composed of suitable voluntary elderly, support of local organization and effective communication | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2560_019.pdf | 1.32 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น