กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1822
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวิเชียร ชาลี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:09:51Z
dc.date.available2019-03-25T09:09:51Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1822
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษา ผลของเถ้าปาล์มน้ำมันบดละเอียดต่อการแทรกซึมคลอไรด์ การกัดกร่อนเหล็ก กำลังอัดและโครงสร้างจุลภาคของคอนกรีตที่ผสมเถ้าปาล์มน้ำมัน หลังแช่ในสภาวะแวดล้อมทะเลเป็นเวลา 3 ปี โดยหล่อคอนกรีตควบคุมจากปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 ให้มีอัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสาน (W/B) เท่ากับ 0.40 0.45 และ 0.50 และใช้เถ้าปาล์มน้ำมันบดละเอียดแทนที่ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 ในอัตราส่วนร้อยละ 0 15 25 35 และ 50 โดยน้ำหนักวัสดุประสาน ในแต่ละอัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสาน หล่อคอนกรีตทรงลูกบาศก์ขนาด 200x200x200 มม3. และฝังเหล็กเส้นกลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 12 มม. ยาว 50 มม. ที่ระยะคอนกรีตหุ้มเหล็ก 10 20 และ 50 มม. นอกจากนั้น ทำการหล่อคอนกรีตทรงกระบอกขนาดส้นผ่านศูนย์กลาง 100 มม. สูง 200 มม. เพื่อใช้ในการทดสอบกำลังอัดคอนกรีต ทำการบ่มคอนกรีตในน้ำจนอายุครบ 28 วัน จากนั้นนำตัวอย่างคอนกรีตไปแช่ในสภาวะแวดล้อมทะเลที่สภาวะเปี ยกสลับแห้ง หลังจากแช่น้ำทะเลครบ 3 ปี ได้เก็บตัวอย่างคอนกรีตมาทดสอบกำลังอัด การแทรกซึมของคลอไรด์โดยใช้กรดและน้ำเป็นตัวทำละลาย และการกัดกร่อนของเหล็ก ผลการศึกษา พบว่า ในช่วงของการแช่น้ำทะเล 3 ปี คอนกรีตที่ผสมเถ้าปาล์มน้ำมันมีอัตราการเพิ่มของกำลังอัดสูงกว่าคอนกรีตของปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 การแทนที่เถ้าปาล์มน้ำมันไม่เกินร้อยละ 25 โดยน้ำหนักวัสดุประสาน ส่งผลให้ลดการแทรกซึมของคลอไรด์ และการกัดกร่อนเหล็กเสริม ตลอดจนเพิ่มความสามารถในการกักเก็บคลอไรด์ในคอนกรีตทำให้คอนกรีตมีความคงทนสูงขึ้นth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectคอนกรีตth_TH
dc.subjectปาล์มน้ำมันth_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.subjectสิ่งแวดล้อมทางทะเลth_TH
dc.subjectเหล็กth_TH
dc.titleโครงสร้างทางจุลภาคและการกัดกร่อนเหล็กเสริมของคอนกรีตของคอนกรีตผสมเถ้าปาล์มน้ำมันที่แช่ในสิ่งแวดล้อมทะเลเป็นเวลา 3 ปีth_TH
dc.title.alternativeMicrostructure and steel corrosion behavior of concrete containing palm oil fuel ash under 3-year exposure in marine environmenten
dc.typeResearch
dc.year2558
dc.description.abstractalternativeThis research aims to study the effect of ground palm oil fuel ash (POF) on chloride penetration, steel corrosion, compressive strength, and microstructure of concrete exposed to a marine site for 3 years. Control concretes were designed using Portland cement type I with W/B ratios of 0.40, 0.45 and 0.50. The POF was used as a pozzolanic material to replace Portland cement type I at 0, 15, 25, 35, and 50% by weight of the binder at the same W/B ratios of the control concretes. Concrete cube specimens of 200x200x200 mm3 were cast, and the steel bars of 12-mm in diameter and 50-mm in length were embedded at covering depths of 10, 20 and 50 mm. In addition, concrete cylinder of 100- mm in diameter and 200-mm in height were prepared for compressive strength test. The concrete specimens were cured in water for 28 days, and then placed to the tidal zone of marine environment. After 3-year exposure, the specimens were tested for compressive strength, acid and water soluble chlorides and corrosion of embedded steel bar. The results showed that during 3-year exposure, concrete containing ground palm oil fuel ash gained strength faster than Portland cement type I concretes. The findings indicated that the use of POF as high as 25% by weight of binder tend to reduce the chloride penetration, steel corrosion and increased the chloride binding capacity in concrete, achieving a high durable concreteen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2567_175.pdf4.16 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น