กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1792
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | นรรัตน์ วัฒนมงคล | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:08:42Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:08:42Z | |
dc.date.issued | 2559 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1792 | |
dc.description.abstract | โครงการนี้พิจารณาปัญหาการจองช่องสัญญาณสำหรับโพรโทคอลควบคุมการเข้าถึงตัวกลางด้วยวิธีการแข่งขันในเครือข่ายสื่อสารไร้สาย โดยพิจารณากลไกการกำหนดลำดับความสำคัญให้กับผู้ใช้บริการเป็น เราได้นำเสนอเทคนิคการจองช่องสัญญาณใหม่ 5 วิธี ซึ่งถูกออกแบบมาเพื่อให้สามารถรองรับผู้ใช้บริการที่มีลำดับความสำคัญแตกต่างกันได้ 2 คลาสคือ FPT+MP, FPT+MLT, FPT+PCP, FPT+SCS และ FPT+HFF โดยพารามิเตอร์ QoS metric (γ) ถูกกำหนดขึ้นเพื่อแสดงถึงปริมาณความแตกต่างของการให้บริการระหว่างผู้ใช้ที่มีความสำคัญต่างกัน โดยมีเป้าหมายคือเพื่อค้นหาเทคนิคการจองช่องสัญญาณหนึ่งที่ให้ค่า γ ตามที่ต้องการได้ อีกทั้งยังสามารถใช้ประโยชน์จากแบนด์วิดท์ได้สูงสุดด้วยจากผลการวิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์แสดงให้เห็นว่าการทำงานร่วมกันระหว่างเทคนิค FPT+MP และเทคนิค FPT+SCS จะให้ประสิทธิภาพสูงสุด | th_TH |
dc.description.sponsorship | สนับสนุนโดยทุนอุดหนุนการวิจัยและพัฒนา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | เครือข่ายสื่อสารไร้สาย | th_TH |
dc.subject | สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย | th_TH |
dc.title | โครงการ การศึกษาและพัฒนาไพรโทคอลควบคุมการเข้าถึงตัวกลางในโครงข่ายการสื่อสารแบบไร้สาย | th_TH |
dc.type | Research | |
dc.year | 2559 | |
dc.description.abstractalternative | This projects the problem of channel reservation techniques for contention-based MAC protocols in wireless communication networks. We consider the mechanism on prioritization for different priority service of users. In this report, five new channel reservation techniques, designed to support two-class services, are proposed, namely FPT+MP, FPT+MLT, FPT+PCP, FPT+SCS, and FPT+HFF. A QoS metric (γ) is defined to illustrate the deficit of different priorities. To achieve the goal, the project finds a channel reservation technique that can satisfy the level of QoS requirement, i.e., γ while maximizing the bandwidth utilization. Numerical results show that the combined technique of FPT+MP and FPT+SCS is the most effective. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น