กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/17457
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ธิดารัตน์ น้อยรักษา | |
dc.contributor.author | อัจฉรี ฟูปิง | |
dc.contributor.author | อภิรดี หันพงศ์กิตติกูล | |
dc.date.accessioned | 2025-04-11T03:22:34Z | |
dc.date.available | 2025-04-11T03:22:34Z | |
dc.date.issued | 2548 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/17457 | |
dc.description | ภายใต้แผนงานวิจัยเรื่อง การศึกษาสภาวะแวดล้อมทางทะเลบริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก ปี 2547 | th_TH |
dc.description.abstract | แพลงก์ตอนพืชในบริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก ได้ทำการศึกษาจำนวน 76 สถานี ระหว่างฟดูแล้ง (มีนาคม 2547) และฤดูฝน (สิงหาคม 2548) พบแพลง์ตอนพืช 98 สกุล ประกอบด้วย แพลงก์ตอนพืชสีเขียวแกมน้ำเงิน 7 สกุล แพลงก์ตอนพืชสีเขียว 9 สกุล ไดอะตอม 65 สกุล แพลงก์ตอนพืชสีน้ำตาลทอง 1 สกุล ซิลิโคแฟลกเจลเลต 1 สกุล และไดโนแฟลกเจลเลต 15 สกุล สุกลที่แพร่กระจายสูง ได้แก่ Bacteriastrum spp. Chaetoceros spp. Coscinodiscus spp. Cylindrotheca sp. Navicula spp. Pleurosigma spp. และ Thalassiosira spp. ตามลำดับ Skeletonema sp. มีปริมาณเซลล์สุงสุดทั้งสองฤดูกาล ดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ของฤดูแล้ง และฤดูฝนมีค่าอยู่ระหว่าง 0.09-2.49 และ 0.27-2.54 ตามลำดับ คุณภาพน้ำที่มีอิทธิพลต่อโครงสร้างสังคมแพลงก์ตอนพืชมากที่สุดคือ ความเค็ม รองลงมา คือ ปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ำ ความโปร่งแสงและความเป็นกรด-ด่าง ตามลำดับ | th |
dc.description.sponsorship | มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ชายฝั่ง -- ไทย (ภาคตะวันออก) | th_TH |
dc.subject | แพลงค์ตอนพืช -- ไทย (ภาคตะวันออก)-- วิจัย | th_TH |
dc.subject | แพลงค์ตอนพืชทะเล -- ไทย (ภาคตะวันออก)-- วิจัย | th_TH |
dc.title | การแพร่กระจาย และความชุกชุมของแพลงก์ตอนพืชบริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก ปี 2547 | th_TH |
dc.type | Research | th_TH |
dc.year | 2548 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Distribution and abundance of phytoplankton were studied along the Eastern Coast of Thailand. The samples were collected from 76 stations in the dry season (March 2004) and wet season (August 2004.) Ninety eight genera of phytoplankton were found. They were blue-green algae (7 genera), green algae (9 genera), diatom (65 genera), golden-brown algae (1 genus), silicoflagellate (1 genus) and dinoflagellate (15 genera). The most distribution of the phytoplankton was Bacteriastrum spp. followed by Chaetoceros spp., Coscinodiscus spp., Cylindrothecu sp., Naviculs spp., Pleurosigma spp. and Thalassiosira spp., respectively. In terms of average cell density, Skeletonema sp. was the most abundance diatom in both seasons, The Shannon's diversity index in the dry and wet seasons were 0.09-2.49 and 0.27-2.54, respectively, Variation of the phytoplankton community structure was mainly influenced by salinity, dissolved oxygen, transparency and pH, respectively. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2568-213.pdf | 2.29 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น