กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1729
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorรวิวรรณ วัฒนดิลก
dc.contributor.authorปาริชาติ นารีบุญ
dc.contributor.authorสมรัฐ ทวีเดช
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล
dc.date.accessioned2019-03-25T09:08:37Z
dc.date.available2019-03-25T09:08:37Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1729
dc.description.abstractการศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและฤทธิ์ต้านจุลินทรีย์ของสารสกัดหยาบเอทธิลอะซิเตทชั้นเซลล์และชั้นน้าเลี้ยงจากแอคติโนมัยซีท 10 ไอโซเลท ที่แยกจากดินตะกอนป่าชายเลนในเขตจังหวัดชุมพร และ 3 ไอโซเลท แยกจากดินตะกอนชายฝั่งจังหวัดชลบุรี ระยองและจันทบุรี ผลการวิเคราะห์ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระดีพีพีเอช (DPPH) และเอบีทีเอส (ABTS) พบว่าสารสกัดจากชั้นน้าเลี้ยงมีค่าความเข้มข้นของสารสกัดที่สามารถกำจัดอนุมูลอิสระ DPPH และ ABTS ได้ 50 เปอร์เซ็นต์ (IC50) ในช่วง 133.07+4.0 – 313.3+7.2 และ 55.21 +1.3 – 248.72+10.4 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร ตามลำดับ โดยสารสกัดแอคติโนมัยซีทสายพันธุ์ CP-PH3-2 และ RY2-20 มีฤทธิ์กำจัดอนุมูลอิสระ DPPH ดีที่สุดมีค่า IC50 เท่ากับ 133.07+4.0 และ 158.59+0.39 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร ขณะที่แอคติโนมัยซีท 4 สายพันธุ์ ได้แก่ CP8-4B, CP-PH3-2, RY2-20 และ CP-PH3-22 แสดงฤทธิ์กาจัดอนุมูลอิสระ ABTS ที่รุนแรงโดยมีค่า IC50 เท่ากับ 55.21+1.3, 63.3+6.9, 66.12+5.4 และ 74.04+2.1 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร ตามลำดับ จากผลการทดสอบฤทธิ์ต้านเชื้อจุลินทรีย์กับสารสกัดหยาบแอคติโนมัยซีท พบว่าเชื้อแอคติโนมัยซีท CP8-4A, CP8-4B, CH54-5 และ A1-3 แสดงฤทธิ์ยับยั้งจุลินทรีย์ต่อเชื้อมาตรฐาน Staphylococcus aureus และ Candida albicans ที่น่าสนใจ ทำการแยกสารประกอบที่ออกฤทธิ์ยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ จากเชื้อ A1-3 และ CH54-5 อยู่ในขั้นตอนการแปลโครงสร้างth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557en
dc.language.isoth
dc.publisherสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectจุลินทรีย์ทะเลth_TH
dc.subjectรงควัตถุth_TH
dc.subjectอนุมูลอิสระth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleการค้นหารงควัตถุที่ออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากจุลินทรีย์ทะเลth_TH
dc.title.alternativeDiscovery of bioactive pigments from marine microorganismsen
dc.typeResearch
dc.year2558
dc.description.abstractalternativeThe present study was carried out to investigate the antioxidant activity and antimicrobial activity of ethyl acetate crude extracts of thirteen actinomycete strains were isolated from soil samples collected at the coastal and mangrove stations in Chonburi, Rayong, Chantaburi and Chumporn provinces. All extracted samples were evaluated for antioxidant activities with TLC-DPPH, DPPH radical scavenging assay and ABTS radical scavenging assay. The results showed that the DPPH and ABTS radical scavenging activities of the extracellular extracts were observed with an IC50 in a range of 133.07+4.0 to 313.3+7. 2 μg/mL and 55.21+1.3 to 248.72+10.4 μg/mL, respectively. The strains CP-PH3-2 and RY2-20 showed the highest DPPH activity at IC50 value of 133.07+4.0 and 158.59+0.39 μg/mL whereas four potent strains (CP8-4B, CP-PH3-2, RY2-20 and CP-PH3-22) exhibited the strongest ABTS activity with an IC50 value of 55.21+1.3, 63.3+6.9, 66.12+5.4 and 74.04+2.1 μg/mL, respectively. On primary screening for antimicrobial activity, four strains including CP8-4A, CP8-4B, CH54-5 and A1-3 showed the activity against Staphylococcus aureus and Candida albicans. The bioactive compounds from A1-3 and CH54-5 are in proceed for purification and structure interpretationen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2559_108.pdf3.27 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น