กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1668
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | กาญจนา พิบูลย์ | th |
dc.contributor.author | พิสิษฐ์ พิริยาพรรณ | th |
dc.contributor.author | มยุรี พิทักษ์ศิลป์ | th |
dc.contributor.author | พวงทอง อินใจ | th |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะแพทยศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:08:33Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:08:33Z | |
dc.date.issued | 2558 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1668 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุแบบไปกลับในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย โดยแบ่งการดำเนินการเป็น 3 ระยะ การศึกษาครั้งนี้ดำเนินการในระยะที่ 2 ซึ่งเป็นการพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุแบบไปกลับ กลุ่มตัวอย่าง คือผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องในการพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุ ประกอบด้วยกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการดูแลผู้สูงอายุในแต่ละสาขาวิชาชีพ ผู้บริหารองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น เจ้าหน้าที่องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น บุคลากรให้บริการในให้บริการสุขภาพทั้งภาครัฐ และเอกชน ผู้นาชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ผู้สูงอายุ ญาติและ ผู้ดูแลผู้สูงอายุจำนวน 50 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นคำถามปลายเปิดซึ่งใช้แนวทางในการสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม ผลการศึกษาพบว่า สภาพการณ์ปัจจุบันเกี่ยวกับรูปแบบการดูแลผู้สูงอายุแบบไปกลับนั้นยังไม่มีความชัดเจนทั้งในเรื่องของมาตรฐานของการบริการ และนโยบายในการสนับสนุน สำหรับความคาดหวังของผู้รับบริการพบว่าสถานที่ตั้งที่เหมาะสมควรจะเป็นการจัดตั้งในชุมชน และรูปแบบกิจกรรมหรืองานบริการควรมีความเหมาะสมกับบริบทของปรัชญา พันธกิจ วิสัยทัศน์ และเป้าหมายของการจัดรูปแบบบริการของศูนย์ดูแลแบบไปกลับ รวมทั้งควรจะเป็นตามความต้องการของผู้สูงอายุและญาติด้วย | th_TH |
dc.description.sponsorship | ได้รับทุนสนับสนุนจาก สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2557 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ผู้สูงอายุ | th_TH |
dc.subject | รูปแบบการจัดบริการ | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ | th_TH |
dc.title | รูปแบบการจัดบริการสำหรับผู้สูงอายุแบบไปกลับในโรงพยาบาล มหาวิทยาลัยบูรพา (ระยะที่ 2) | th_TH |
dc.title.alternative | Elderly day care model in Burapha University Hospital | en |
dc.type | Research | |
dc.year | 2558 | |
dc.description.abstractalternative | This participatory action research aims to develop an elderly day care model in the university hospital. This research project consists of three phases. This phase is the second phase of this project and the objective of this phase was to develop the day care services model. Qualitative methods was used to conduct this research. 50 participants were recruited to participate in this study. The results found that the current situations of day care model for the elderly was not clear yet in both of the policies from the government and day care model standard. For the expections from stakeholders, they were expected that the day care services for the elderly people should establish in the community and the day care services model should follow the philosopy , mission, vision and opitimal goal of the day care and also the elderly pople and their relative’s needs. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2559_033.pdf | 1.87 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น