กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1626
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorทวีชัย สำราญวานิช
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:08:31Z
dc.date.available2019-03-25T09:08:31Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1626
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มุ่งศึกษากำลังอัดและการซึมผ่านน้ำของคอนกรีตผสมเส้นใยเหล็ก โดยมุ้งเน้นหาส่วนผสมคอนกรีตผสมเส้นใยเหล็กที่เหมาะสมโดยมีกำลังอัดสูงและการซึมผ่านน้ำที่ต่ำ โดยทำการศึกษาคอนกรีตที่ใช้อัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสาน 0.50 และ 0.60 และปริมาณเส้นใยเหล็กแบบตะขอ 0.5% 1.0% และ 1.5%โดยปริมาณของคอนกรีต ทำการหล่อตัวอย่างคอนกรีตทรงกระบอก ขนาด O10x20 เซนติเมตร2 และตัวอย่างคอนกรีตแบบแผ่น ขนาดO 10x5 เซนติเมตร2 สำหรับทดสอบกำลังอัดและการซึมผ่านน้ำตามลำดับ ทำการทดสอบที่อายุ 7 28 และ 91 วัน หลังจากการบ่มแช่ในน้ำ จากผลการศึกษาพบว่า การใช้ปริมาณเส้นใยเหล็ก 0.5% โดยปริมาณของคอนกรีตส่งผลให้คอนกรีตมีค่ากำลังอัดสูงและสัมประสิทธิ์การซึมผ่านน้ำต่ำที่สุด เนื่องจากเส้นใยเหล็กช่วยรับแรงอัดในคอนกรีตและช่วยขัดขวางการซึมผ่านน้ำในคอนกรีต แต่เมื่อใช้ปริมาณเส้นใยเหล็กสูงมากกว่า 0.5% โดยปริมาตรของคอนกรีต กลับทำให้กำลังอัดต่ำลงและการซึมผ่านน้ำสูงขึ้น ซึ่งอาจเกิดเนื่องจากปริมาณเส้นใยเหล็กที่มากเกินไปจะทำให้เกิดมีโพรงช่องว่างระหว่างเส้นใยและเนื้อคอนกรีต ส่งผลให้คอนกรีตมีความพรุนและการซึมผ่านน้ำสูง และกำลังอัดคอนกรีตต่ำลงth_TH
dc.description.sponsorshipสนับสนุนโดยทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2556 สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติen
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectคอนกรีต - - การดูดซึมth_TH
dc.subjectคอนกรีตth_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.titleกำลังรับแรงอัดและการซึมผ่านน้ำของคอนกรีตผสมเส้นใยเหล็กth_TH
dc.title.alternativeCompressive strength and water permeability of concrete with steel fiberen
dc.typeResearch
dc.year2558
dc.description.abstractalternativeThis research aims to study compressive strength and water permeability of concrete containing steel fiber in order to determine the optimum mix proportion of steel fiber reinforced concrete which having high compressive strength and low water permeability. This study focused on concrete with water to binder radio of 0.50 and 0.60 and using hooked-steel fiber content of 0%, 0.5%, 1.0% and 1.5% by volume of concrete. Cylindrical concrete specimens of size O10x20 cm2 and disc concrete specimens of size O10x5 cm2 were cast for testing the compressive strength and water permeability, respectively. The tests were performed at 7, 28 and 91 days after water curing. From experimental results, it was found that the use of 0.5% steel fiber content by volume of concrete results in the highest compressive strength and the lowest coefficient of water permeability. This is because the steel fibers help to resist compression loads in concrete and obstruct the water permeation of concrete. But, when steel fiber content is larger than 0.5% by volume of concrete, the compressive strength decreases and water permeability increase. This might be that lots of steel fiber will make voids between fibers and concrete texture and lead to higher porosity and water permeability and lower compressive strength.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2567_238.pdf3.09 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น