กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/159
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | กุหลาบ รัตนสัจธรรม | th |
dc.contributor.author | วสุธร ตันวัฒนกุล | th |
dc.contributor.author | อรพิน ทองดี | th |
dc.contributor.author | สุนิศา แสงจันทร์ | th |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:45:53Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:45:53Z | |
dc.date.issued | 2545 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/159 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจแบบตัดขวาง เพื่อศึกษาความคิดเห็นและเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนต่อโครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและเศรษฐกิจฐานราก กลุ่มตัวอย่างเป็นประชาชนในตำบลห้วงน้ำขาว สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์โดยใช้แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือโดยผ่านการหาความตรงเชิงเนื้อหา ความตรงเชิงโครงสร้าง และทดลองใช้ ได้ค่าความเที่ยง 0.6751-0.8706 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและการเปรียบเทียบความแตกต่างรายคู่โดยวิธีการของเชฟเฟ (Scheffe) ผลการวิจัยพบว่า ประชาชนมีความคิดเห็นต่อโครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและเศรษฐกิจฐานรากในระดับสูงมากกว่าร้อยละ 70 ในเรื่อง การพัฒนาการสร้างรายได้ การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน การอนุรักษ์าสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ การพัฒนาศักยภาพของคนในชุมชน และการเป็นมหาวิทยาลัยชุมชน ยกเว้นในเรื่องของการพัฒนาคุณภาพชีวิต ที่ประชาชนเห็นด้วยในระดับสูงเพียง ร้อยละ 52.85 เมื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนต่อโครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและเศรษฐกิจฐานรากแก้ว พบว่าเพศหญิงเห็นด้วยมากกว่าเพศชายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 4 เรื่องคือ ในเรื่อง การพัฒนาการสร้างรายได้ การพัฒนาศักยภาพของคนในชุมชน การเป็นมหาวิทยาลัยชุมชน และโดยรวมทุกด้าน (p<.05) ประชาชนที่มีอาชีพ และอายุต่างกันมีความคิดเห็นต่อโครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและเศรษฐกิจฐานรากในด้านการพัฒนาศักยภาพของคนในชุมชน การพัฒนาคุณภาพชีวิต การเป็นมหาวิทยาลัยชุมชน และโดยรวมทุกด้าน แตกต่างกัน (p< .05) ในส่วนของอาชีพมีเพิ่มในเรื่อง การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน อีก 1 ด้าน ส่วนหมู่บ้านต่างกันมีความคิดเห็นในทุกด้านแตกต่างกัน และพบว่า สถานภาพในสังคมต่างกันมีความคิดเห็นแตกต่างกันในเกือบทุกด้าน ยกเว้นในด้านการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน จากข้อค้นพบนี้เป็นคำตอบที่ยืนยันได้ว่าโครงการนี้ประสบความสำเร็จเป็นอย่างดี ควรขยายผลในพื้นที่อื่น ๆ อีกต่อไป | th |
dc.description.sponsorship | สนับสนุนงบประมาณโดยทบวงมหาวิทยาลัย | en |
dc.publisher | คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | สาขาสังคมวิทยา | th_TH |
dc.title | ความคิดเห็นของประชาชนต่อการดำเนินงานโครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและเศรษฐกิจฐานราก ตำบลห้วงน้ำขาว อำเภอเมือง จังหวัดตราด | th_TH |
dc.title.alternative | The opinion of Tumbon Huong Num Kao people towards the operations of Community Strengthening and Grass Root Economic Project, Muang District, Trad Province, Thailand | en |
dc.type | Research | en |
dc.year | 2545 | |
dc.description.abstractalternative | A cross sectional survey research aimed at studying and comparing the opinion of the people towards the operations of community strengthening and grass root economic project. The samples were selected from Tumbol Huong Num Kao people by multistage sampling technique. Questionnaires were designed and tested for content and structure validity and pretested before using it during the data collection stage. The reliabilities of studied variables were between 0.6751-0.8760. Data were analyzed using frequency, percentage, mean standard deviation, t-test, one-way ANOVA and Compare each pair by Scheffe's method. The results showed that the qpinion of the people towards the operations of community strengthening and grass root economic project was at high level, more than 70 percent in increase income, community strengthening, natural environment preservation, people potential development and being as community university,. But the opinion of people in quality of life development, people accepted at the high level, only 52.85 percent. The comparative opinion of people between variables found that there were significant difference between sex, occupation, age, villages and social status (p<.05). The results found that demale accept increase income, people potential development, being as a community university and also all factors mention above more than male (p<.05). Different occupations and ages accepted differences in people potential development, quality of life development, being as a community university and also all factors mention above (p<.05). In different occupation accepted an additional; factor i.e. community strengthening. In different villages accepted in all factors differently. In different social status accepted most factors exception community strengthening. From this study confirmed that the project is feasible and should be extended to other areas. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
165729.pdf | 20.05 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น