กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/152
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorขวัญเรือน ศรีนุ้ย
dc.contributor.authorรุจิรา แก้วกิ่ง
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล
dc.date.accessioned2019-03-25T08:45:52Z
dc.date.available2019-03-25T08:45:52Z
dc.date.issued2548
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/152
dc.description.abstractศึกษาการแพร่กระจายและความชุกชุมของแพลงก์ตอนสัตว์บริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกในเดือนมีนาคม 2547 (ฤดูแล้ง) และในเดือนสิงหาคม 2547 (ฤดูฝน) พบแพลงก์ตอนสัตว์ทั้งสิ้น 15 ไฟลัม 41 กลุ่ม ในฤดูแล้งมีความชุกชุมของแพลงก์ตอนสัตวืมากกว่าฤดูฝน โดยมีไฟลัม Arthropoda เป็นชนิดเด่น รองลงมาคือ Chordata และ Mollusca ตามลำดับ ในส่วนฤดูฝนแพลงก์ตอนสัตว์ที่ชุกชุมเป็นชนิดเด่น ได้แก่ ไฟลัม Protozoz รองลงมาคือ Chordata และ Arthropoda ตามลำดับ ส่วนโคพีพอดในฤดูแล้งพบ 4 อันดับย่อย 39 ชนิด อันดับย่อยที่พบ ได้แก่ Calanoida, Cyclopoida, Harpacticoida และ Poecilostomatoida ชนิดของโคพีพอดที่เป็นชนิดเด่นในฤดูแล้ง ได้แก่ Paracalanus crassirostris, Oithona aruensis, Bestiolina similis และ Oithona simplex ตามลำดับ ในฤดูฝนชนิดที่พบมากที่สุด ได้แก่ Acartia plumosa, Oithona aruensis Paracalanus crassirostris และ Euterpina acutifrons ตามลำดับ นอกจากนี้ในการศึกษาครั้งนี้พบโคพีพอดชนิดใหม่ของโลก 1 ชนิด คือ Pseudodiaptomus sp. ในฤดูฝนจากบริเวณปากแม่น้ำประแสร์ จังหวัดระยอง Distributionn and abundance of zooplankton along the Eastern Coast of Thailand were investigated in March 2004 (dry season) and August 2004 (wet season). Fifteen phylum belonging to 41 groups of zooplankton were found. The abundance of zooplankton was greater in the dry season than that in the wet season. Arthropoda was the dominant taxon found in the dry season, followed by Chordata and Mollusca respectively. In the wet season, the dominant phylum of zooplankton found were Protozoa, followed by Chordata and Arthropoda, respectively. The copepods found in the dry season were 39 species of 4 suborder such as Calanoida, Cyclopoida, Harpacticoisa and Poecilostomatoida. Paracalanus crassirostris, Oithona aruensis, Bestiolina similis and Oithona simplex were dominant species in the dry seasons. While Acarita plimosa, Oithona aruensis, Paracalanus crassirostris and Euterpina acutifrons were mostly found in the wet season. In addition a new species of copepod, Pseudodiaptomus sp. was found in the wet season from the Presae River Estuary, Rayong Province.th_TH
dc.description.sponsorshipได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2547 สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพาen
dc.publisherสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectชายฝั่ง - - ไทย (ภาคตะวันออก) - - วิจัยth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล - - วิจัยth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.subjectแพลงค์ตอนสัตว์ - - ไทย (ภาคตะวันออก) - - วิจัยth_TH
dc.subjectแพลงค์ตอนสัตว์ทะเล - - ไทย (ภาคตะวันออก) - - วิจัยth_TH
dc.titleการแพร่กระจายความชุกชุมของแพลงก์ตอนสัตว์บริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกปี 2547th_TH
dc.title.alternativeDistribution and abundance of zooplankton along the Eastern coast of Thailand in 2004th_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.year2548
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
viewobj (1)3.45 MBUnknownดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น