กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1511
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ธรรมนูญ รัศมีมาสเมือง | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:07:08Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:07:08Z | |
dc.date.issued | 2557 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1511 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมและพัฒนาสมการทำนายความสูงคลื่นซัดบนโครงสร้างพื้นเอียงแบบขั้นบันได การศึกษาดำเนินการในรางจำลองคลื่น กว้าง 60 ซม. ลึก 80 ซม. และยาว 16 ม. ในห้องปฏิบัติการวิศวกรรมชลศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี โดยทดลองบนโครงสร้างพื้นเอียงผิวเรียบ และโครงสร้างพื้นเอียงแบบผิวขั้นบันได ที่ความลาดเอียงของพื้นเอียง 14 ถึง 27 องศา ความลึกของน้ำที่ใช้ในการทดสอบเท่ากับ 35 ซม. คลื่นที่ใช้ในการศึกษาเป็นคลื่นแบบสม่ำเสมอที่ถูกสร้างขึ้นด้วยความถี่ 0.83 ถึง 1.67 เฮิรตซ์ ผลการทดลองในห้องปฏิบัติบ่งชี้ว่า ความสูงคลื่นซัดบนโครงสร้างพื้นเอียงมีความสัมพันธ์อย่างชัดเจนกับความลาดชันของโครงสร้าง ความชันของคลื่นเข้ากระทบ และความขรุขระของผิวโครงสร้างซึ่งในกรณีนี้ คือ ค่าความสูงของขั้นบันได ความลาดชันที่ลดลง ความชันของคลื่นที่เพิ่มขึ้น และความขรุขระของผิวโครงสร้างที่เพิ่มขึ้น ทำให้ความสูงคลื่นชัดสัมพัทธ์กับความสูงคลื่นเข้ากระทบลดลง เนื่องจากการสลายพลังงานของคลื่นจะเกิดมากขึ้นในสามกรณีดังกล่าว ผลการทดลองในห้องปฏิบัติการถูกนำมาพัฒนาเป็นสมการทำนายความสูงคลื่นซัด โดยคำนึงถึงความขรุขระ และสามารถประยุกต์ใช้ได้ทั้งกรณีพื้นเอียงผิวเรียบและกรณีพื้นเอียงผิวขรุขระในสมการเดียว และมีความแม่นยำมากขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับสมการของพื้นเรียบ สมการที่มีความแม่นยำมากขึ้นทำให้เราสามารถออกแบบโครงสร้างให้มีความสูงลดลง ซึ่งทำให้ค่าก่อสร้างลดลงไปด้วย | th_TH |
dc.description.sponsorship | โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนจากรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | คลื่น | th_TH |
dc.subject | สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย | th_TH |
dc.title | ระดับคลื่นซัดบนพื้นเอียงแบบขั้นบันได | th_TH |
dc.title.alternative | Wave run-up on stepped slopes | en |
dc.type | Research | |
dc.year | 2557 | |
dc.description.abstractalternative | This research is to study the behaviors of and to develop the predictive formulas of wave runup on the stepped sloping structures. The study was carried out in a wave flume of which the width of 60 cm., the depth of 80 cm. and the length of 16 m., in Hydraulic Engineering Laboratory, Department of Civil Engineering, Burapha University, Chon Buri Province. A smooth sloping and stepped sloping structures were used in the study with the slope ranging from 14 to 27 degrees. The water depth used in the test was 35 cm and the wave was regularly generated with the frequency of 0.83 to 1.67 Hz. The laboratory results indicate that the wave runup on the sloping structures is clearly relative to the slope od the structures, the wave steepness and the roughness of structure surface, which is the height of the steps in this case. Milder structure slope, greater wave steepness and rougher structure surface lower the wave runup, because these three conditions cause more the dissipation of incident waves. Experimental data was applied to develop an empirical formula for predicting the wave runup that is able to be use for both smooth slope and stepped slope in the same equation. The proposed formula gives more accurate results compared to the formula of smooth slope. With the more accurate calculation of wave runup, design of lower height of structures can be done and lead to reduce the construction cost. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2567_185.pdf | 3.35 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น