กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1504
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | วันเช็ง สิทธิกิจโยธิน | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:07:08Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:07:08Z | |
dc.date.issued | 2557 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1504 | |
dc.description.abstract | โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อหาสูตรแป้งพิมพ์และสภาวะการผนึกสีบนผ้าที่เหมาะสมในการพิมพ์ผ้าไหมด้วยสีธรรมชาติจากเปลือกมังคุด โดยใช้กัมปรับปรุงจากเมล็ดหางนกยูงไทยและเมล็ดหางนกยูงฝรั่งเป็นสารข้นทางธรรมชาติ ซึ่งสูตรแป้งพิมพ์ที่ใช้พิมพ์นั้นจะใช้สูตรทางการค้าของโรงงานเป็นสูตรมาตรฐานที่ใช้สารข้นทางการค้า (ทัมมารีนกัม) โดยทำการแปรค่าความเข้มข้นของสารข้นทางธรรมชาติ ความเข้มข้นของกรดซิตริก ความเข้มข้นของยูเรีย ความเข้มข้นของสีธรรมชาติจากเปลือกมังคุด และอุณหภูมิและเวลาที่ใช้ในการผนึกสี โดยวิเคราะห์ความคมชัดของลายเส้น การติดสี การกระจายตัวของสีด้วยตาเปล่า และด้วยเครื่องวัดความเข้มของสี และทำการเปรียบเทียบกับผ้าพิมพ์ที่พิมพ์ด้วยแป้งพิมพ์ที่เตรียมจากสารข้นทางการค้า จากการวิเคราะห์ดังกล่าวจะได้สูตรแป้งพิมพ์ที่เหมาะสมสำหรับการพิมพ์บนผ้าไหมด้วยสีจากเปลือกมังคุด ที่ใช้สารข้นจากกัมปรับปรุงจากเมล็ดหางนกยูงไทยและกัมจากเมล็ดหางนกยูงฝรั่ง จำนวน 2 สูตร จากนั้นนำผ้าไหมที่พิมพ์ด้วยสูตรแป้งพิมพ์ทั้งสองดังกล่าวไปทดสอบความคงทนขอสีต่อการซักล้างบนวัสดุสิ่ง ทอ ความคงทนของสีต่อการขัดถู ความคงทนของสีต่อแสงแดดเทียม ความคงทนของสีต่อเหงื่อ และความคงทนของสีต่อน้ำ เปรียบเทียบกับผ้าไหมที่พิมพ์ด้วยสูตรแป้งพิมพ์ทางการค้า พบว่าผลการทดสอบความคงทนของการพิมพ์ด้วยแป้งพิมพ์ที่เตรียมด้วยสารข้นทางธรรมชาตินั้นจะมีค่าดีกว่าผ้าพิมพ์ที่ได้จากการพิมพ์ด้วยแป้งพิมพ์ทางการค้า ทั้งนี้ข้อดีของการใช้สารข้นธรรมชาติ คือใช้ปริมาณที่น้อยกว่าสารข้นทางการค้าเนื่องจากมีค่าความหนืดมากกว่า อีกทั้งเป็นวัตถุดิบที่หาได้ภายในประเทศเมื่อเทียบกับสารข้นทางการค้าที่ต้องนำเข้าจากต่างประเทศ | th_TH |
dc.description.sponsorship | โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินทุนอุดหนุนการวิจัย (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช | th_TH |
dc.subject | สีธรรมชาติ | th_TH |
dc.subject | แป้งพิมพ์ | th_TH |
dc.title | การเตรียมแป้งพิมพ์ด้วยสารข้นจากกัมเมล็ดพืช สำหรับการพิมพ์ผ้าไหมด้วยสีจากเปลือกมังคุด | th_TH |
dc.title.alternative | Printing paste preparation using seed gums as thickening agent for eco-friendly silk printing by natural dye from mangosteen rind | en |
dc.type | Research | en |
dc.year | 2557 | |
dc.description.abstractalternative | The aim of the present work was to optimize the formula of printing paste. Seed gums from Caesalpinia pulcherrima and Delonix regia had been modified using carboxymethylation and used as natural thickening agents for printing on silk fabrics and compared to the commercial printed silk fabrics. Regarding the commercial thickening agent as tamarind gum, it is currently used for commercial printing paste however this high cost raw material must be imported. The concentration of natural thickening agent, citric, urea, natural dye from mangosteen rind and temperature and time in fixation process were investigated. The quality fabrics printed by depth of shade and colour fastness were evaluated and compared to printed fabrics by commercial printing paste. Finally, two formulas of printing paste were found out for each seed gums. The obtained results showed that the printing pasted from our natural seed gums had good potential to use instead of commercial thickening agent for printing on silk fabric. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2559_059.pdf | 1.58 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น