กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1501
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | สยาม ยิ้มศิริ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:07:08Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:07:08Z | |
dc.date.issued | 2557 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1501 | |
dc.description.abstract | ลักษณะการทดสอบเจาะทะลุทะลวงมาตรฐานในประเทศไทยจากการสำรวจพบว่าใช้ตุ้มตอก 3 ชนิด คือโดนัท, เซฟตี้, และทริป โดยแบบโดนัทได้รับความนิยมที่สุด ก้านเจาะที่ใช้เป็นแบบ AW ขนาดของหลุมเจาะมีขนาด 0.08–0.12 เมตร และทิศทางการหมุนของกว้านมี 2 แบบแต่แบบหมุนทวนเข็มนาฬิกาได้รับความนิยมกว่าแบบหมุนตามเข็มนาฬิกา อุปกรณ์สำหรับวัดพลังงานสามารถแบ่งออกได้ 3 ส่วน คือ อุปกรณ์วัดพลังงาน, อุปกรณ์ขยายสัญญาณ, และอุปกรณ์บันทึกผล สำหรับอุปกรณ์วัดพลังงานประกอบด้วยก้านเจาะชนิด AW 0.83 ม., Load cell 2 ชุด, และ Accelerometer 2 ชุด อุปกรณ์ขยายสัญญาณประกอบด้วยชุดขยายสัญญาณสำหรับ Load cell 200 เท่า และ ชุดควบคุมสัญญาณสำหรับ Accelerometer อุปกรณ์บันทึกผลประกอบด้วย NI USB–6009 โดยสัญญาณทั้งหมดจะบันทึกในคอมพิวเตอร์โดยใช้โปรแกรม Labview เป็นตัวควบคุมพลังงานประสิทธิผลของตุ้มตอกโดนัท, เซฟตี้, และทริป มีค่าเท่ากับ 45%, 81%, 89% โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ความแปรปรวนของการทดสอบเท่ากับ 27, 12, และ 7% ตามลำดับ แต่อย่างไรก็ตามสำหรับการปรับแก้พลังงานที่ส่งไปที่ก้านเจาะจากระบบของตุ้มตอกนั้นจำเป็นต้องปรับไปที่ 60% ด้วย ดังนั้นจึงนำเสนอ ค่าสัมประสิทธิ์ที่ปรับไปที่ 60% แล้วของตุ้มตอกทั้ง 3 ชนิดซึ่งมีค่าดังนี้ 0.75, 1.35, 1.48 และมีค่าสัมประสิทธิ์ ความแปรปรวนของการทดสอบเท่ากับ 27, 12, และ 7% ตามลำดับ ซึ่งค่าดังกล่าวจะทำให้เกิดความสะดวกในการใช้งานมากขึ้นและเมื่อปรับแก้จะทำให้ข้อมูลที่ทดสอบโดยผู้ทดสอบต่างๆมีค่าตรงกันทำให้มีการแปลผลไปสู่คุณสมบัติทางวิศวกรรมของดินที่ถูกต้องต่อไป | th_TH |
dc.description.sponsorship | โครงการวิจัยงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | พลังงาน | th_TH |
dc.subject | สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย | th_TH |
dc.subject | เครื่องมือต้นแบบ | th_TH |
dc.title | การศึกษาพลังงานประสิทธิผลในการทดสอบ Standard Penetration Test ตามแนวทางการทดสอบที่ดำเนินการ ในประเทศไทย | th_TH |
dc.type | Research | th_TH |
dc.year | 2557 | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2559_044.pdf | 1.65 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น