กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1498
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวิเชียร ชาลี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:07:07Z
dc.date.available2019-03-25T09:07:07Z
dc.date.issued2557
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1498
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาระยะเวลาเริ่มกัดกร่อนของเหล็กเสริมในคอนกรีตที่ผสมเถ้าแกลบเปลือกไม้บดละเอียด (GRBA) ที่แช่ในสิ่งแวดล้อมทะเล โดยใช้คอนกรีตควบคุมทาจากปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 ที่มีอัตราส่วนน้าต่อวัสดุประสาน (W/B) เท่ากับ 0.45 และ 0.65 ในแต่ละอัตราส่วนน้าต่อวัสดุประสาน ใช้เถ้าแกลบเปลือกไม้ที่ผ่านการบดละเอียดแทนที่ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 ในอัตราส่วนร้อยละ 15 25 35 และ 50 โดยน้าหนักของวัสดุประสาน หล่อตัวอย่างคอนกรีตขนาด 200x200x200 มม.3 และฝังเหล็กเส้นกลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 12 มม. ยาว 50 มม. โดยมีระยะคอนกรีตหุ้มเหล็กเท่ากับ 10 20 50 และ 75 มม. นาตัวอย่างคอนกรีตไปแช่บริเวณชายฝั่งทะเลใน จ.ชลบุรี ทาการเก็บตัวอย่างทดสอบปริมาณคลอไรด์อิสระในคอนกรีต ณ ตาแหน่งที่ฝังเหล็ก การกัดกร่อนของเหล็กที่ฝังในคอนกรีต และทดสอบการแทรกซึมของคลอไรด์อิสระในคอนกรีต หลังแช่คอนกรีตในน้าทะเลเป็นเวลา 2 3 5 และ 7 ปี จากข้อมูลการแทรกซึมของคลอไรด์อิสระในคอนกรีตและปริมาณคลอไรด์วิกฤติ สามารถวิเคราะห์การกัดกร่อนเริ่มต้นในคอนกรีตที่ผสมเถ้าแกลบเปลือกไม้ได้ ผลการวิจัยพบว่า การใช้เถ้าแกลบเปลือกไม้ผสมในคอนกรีตไม่เกินร้อยละ 25 ส่งผลให้ยืดระยะเวลาที่เหล็กเสริมในคอนกรีตเริ่มกัดกร่อนอย่างชัดเจนth_TH
dc.description.sponsorshipสนับสนุนโดย ทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectถ้าแกลบเปลือกไม้th_TH
dc.subjectเหล็กเสริมคอนกรีตth_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.titleการศึกษาระยะเวลากัดกร่อนเริ่มต้นของเหล็กเสริมในคอนกรีตที่ผสมเถ้าแกลบเปลือกไม้ภายใต้สิ่งแวดล้อมทะเลth_TH
dc.title.alternativeA study of time to initial corrosion of steel reinforcement in concrete containing rice husk-bark ash under marine environmenten
dc.typeงานวิจัย
dc.year2557
dc.description.abstractalternativeThis research studied the initial corrosion of reinforcing steel in concrete containing ground rice husk-bark ash (GRBA) under marine environment. Control concretes were prepared using Portland cement type I with W/B ratios of 0.45 and 0.65. GRBA concrete were cast using GRBA to replace Portland cement type I at the percentages of 15, 25, 35, and 50% by weight of binder at the same W/B ratios of the control concretes. Concrete cube specimens of 200x200x200 mm3 were cast and steel bars of 12-mm in diameter and 50-mm in length were embedded with concrete coverings of 10, 20, 50, and 75 mm. Concrete specimens were exposed to a tidal zone of marine environment in Chonburi province. The specimens were tested for free chloride content at the position of embedded steel bar, corrosion of the embedded steel bar and free chloride penetration in concrete after being exposed to tidal zone of sea water for 2, 3, 5, and 7 years. The free chloride penetration and chloride threshold levels obtained from this testing led to the determination of time to initial corrosion of GRBA concrete. The results found that the use of GRBA as high as 25% replacement in concrete greatly prolongs the time to initial corrosion of the reinforcing steel in the concretes.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2559_042.pdf3.08 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น