กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1488
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | รชนิมุข หิรัญสัจจาเลิศ | th |
dc.contributor.author | มะลิวัลย์ คุตะโค | th |
dc.contributor.author | วิชญา กันบัว | th |
dc.contributor.author | วศิน ยุวนะเตมีย์ | th |
dc.contributor.author | สมถวิล จริตควร | th |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. คณะเทคโนโลยีทางทะเล | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:07:07Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:07:07Z | |
dc.date.issued | 2557 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1488 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อจำแนกชนิดและสกุลของสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินน้ำเค็มและไดอะตอมโดยใช้ลำดับของยีนไฟโคไซยานิน ส่วนของ International Transcribed Spacer (ITS) และ 18S rDNA ตามลำดับ สกัดจีโนมิกดีเอ็นเอของสาหร่ายด้วยวิธี Phenol:Chroloform และเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอด้วยปฏิกิริยาลูกโซ่โพลีเมอเรส แล้วตรวจสอบชนิดและสกุลของสาหร่าย โดยเปรียบเทียบลำดับนิวคลีไอไทด์ที่ได้กับลำดับนิวคลีโอไทด์ในห้องสมุดยีน นอกจากนี้ ได้ศึกษาลายพิมพ์ดีเอ็นเอของสาหร่ายด้วยวิธี PAPD-PCR ด้วยไพรเมอร์ขนาด 10 คู่เบสแล้วคัดเลือกเครื่องหมาย PARD ที่จำเพาะต่อชนิดของสาหร่ายที่สนใจมาหาลำดับนิวคลีโอไทด์ ออกแบบไพรเมอร์สำหรับเครื่องหมาย SCAR ของสาหร่าย จากผลการวิจัยสามารถจัดจำแนกชนิดและสกุลของสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินได้ 9 ชนิด และไดอะตอมได้ 2 ชนิด คือ สาหร่ายสีเขียวแกมนำเงินไม่ทราบสกุล รหัส MT5 คล้ายกับสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน Synechococcus sp. (97% identity, e-value= 3e-32) สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินไม่ทราบสกุล รหัส MT6 คล้ายกับสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน Synechococcus sp. (97% identity, e-value= 0.0) สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินไม่ทราบสกุล รหัส MT0 คล้ายกับสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน Synechococcus sp. (97% identity, e-value= 9e-158) สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินไม่ทราบสกุล รหัส MT2 คล้ายกับสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน Synechococcus sp. (97% identity, e-value= 0.0) สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินไม่ทราบสกุล รหัส MT4 คล้ายกับสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน Synechococcus sp. (97% identity, e-value= 0.0) สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินไม่ทราบสกุล รหัส MT14 คล้ายกับสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน Synechococcus sp. (97% identity, e-value= 0.0) สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน รหัส MT7K คล้ายกับสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน Synechococcus disperses (74% identity, e-value= 3e-69) ไดอะตอม รหัส MT34 คล้ายกับไดอะตอม Chaetoceros gracilis (94% identity, e-value= 0.0) ไดอะตอมรหัส FD1 คล้ายกับไดอะตอม Chaetoceros gracilis (97% identity, e-value= 0.0) จากการหาลำดับนิวคลีโอไทด์ของเครื่องหมาย RAPD ที่จำเพาะต่อสาหร่าย synechococcus sp. และ Spirulina sp. พบว่าเป็นลำดับนิวคลีโอไทด์ของยีน qlucosidase (Cecembia lonaensis, e-value = 6e-160) DNA mismatch repair protein MutS (Arthrospira platensis NIES-39, e-value = 0.0) และ alpha –amylase (Arthrospira sp., e-value = 2e-175) ส่วนเครื่องหมาย RAPD ที่จำเพาะต่อสาหร่าย Chroococcus sp. และสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินไม่ทราบสกุล รหัส MT22 ไม่สามารถหาลำดับนิวคลีโอไทด์ได้ โดยเมื่อออกแบบไพรเมอร์สำหรับพัฒนาเป็นเครื่องหมาย SCAR โดยใช้ลำดับนิวคลีโอไทด์ของเครื่องหมาย RAPD พบว่าลำดับนิวคลีโอไทด์ของยีน DNA mismatch repair protein Muts สามารถแยกสาหร่าย Spirulina sp. ออกจากสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินชนิดอื่นได้ ผลการวิจัยนี้ทำไห้เรามามารถระบุสกุลและชนิดให้กับสาหร่ายได้โดยที่ใช้เทคนิคทางอณูชีววิทยา อีกทั้งยังสร้างดีเอ็นเอบาร์โค้ดให้กับสาหร่ายที่ศึกษาอีกด้วย | th_TH |
dc.description.sponsorship | โครงการนี้ได้รับทุนสนับสนุนจาก สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ) ภายใต้โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะเทคโนโลยีทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี | th_TH |
dc.subject | ไดอะตอม | th_TH |
dc.subject | สาหร่าย | th_TH |
dc.subject | สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา | th_TH |
dc.title | การใช้เทคนิคทางอณูชีววิทยาในการจัดจำแนกชนิดของสาหร่ายขนาดเล็กและไดอะตอม | th_TH |
dc.title.alternative | Molecular characterization of microalgae and diatoms isolate using of molecular techniques | en |
dc.type | Research | |
dc.year | 2557 | |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research is to identify the species of marine blue-green algae and diatom by using the nucleotide sequences of phycocynin gene, lnternational Transcribed Spacer (ITS) and 185 rDNA. The genomic DNA of microalgae were extracted using phenol: Chroloforn method. The genomic DNA was further amplified by polymerase Chain Reaction (PCR) technique. The genus and species of samples were classified by comparing the derived nucleotide sequences with the submitted nucleotide sequences in the Genbank. Moreover, DNA patterns obtained from random amplified polymorphic DNA (RAPD) were compared. Several species-specific DNA fragments were isolated SCAR marker were designed and used as genetic makers to differentiate the microalgae species. The results of this research can identify 9 and 2 species of blue – green algae and diatom, respectively. MT5 was matched to blue-green algae Synechococcus sp. (97% identity,e-value = 3e-32). MT6 was matched to blue-green algae Synechococcus sp (97% identity, e-value = 0.0). MTO was matched to blue-green algae Synechoccus sp. (97% identity,e-value = 9e-158). MT2 was matched to blue-green algae Synechococcus ap. (97% identity,e-value = 0.0). MT4 was matched to blue-green algae Synechococcus ap. (97% identity,e-value = 0.0). MT14 was matched to blue-green algae Synechococcus sp. (97% identity,e-value = 0.0). MT7k was matched to blue-green algae Chroococcus disperses (74% identity,e-value = 3e-6). Diatom code MT34 was matched to Chaetoceros gracilis (94% identity,e-value = 0.00).Diatom code FD1 was matched to Choaetoceros gracilis (97% identity,e-value = 0.00). SCAR markers of Synechococcus sp. And Spirulina sp. Were characterized. The nucleotide sequences were matched to glucosicidase (Cecembia lonarensis, e-value = 6e-160) DNA mismatch repoir protein Mut5 (Arthrospira platensis NIES-39, e-value=0.0) and alpha-amylase (Arthrospira sp., e-value = 2e-175), respectively. Consepuently, SCAR markers of Chroococcus sp. And MT22 were not characterized. Primer that designed from the nucleotide sequences of DNA mismatch repair protein MutS can be used to used to clarify Spirulina sp. The resulfs from this research imply that the molecular biolgy technique can be utilized to identify the species of microalgae. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น