กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/147
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | แววตา ทองระอา | th |
dc.contributor.author | ฉลวย มุสิกะ | th |
dc.contributor.author | วันชัย วงสุดาวรรณ | th |
dc.contributor.author | อาวุธ หมั่นหาผล | th |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:45:52Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:45:52Z | |
dc.date.issued | 2547 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/147 | |
dc.description.abstract | การศึกษาการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของสารปรอทในดินตะกอนและน้ำบริเวณนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดในปีแรก มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการแพร่กระจายของสารปรอทในน้ำทะเลบริเวณนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ศึกษาการแพร่กระจายของสารปรอทในดินตะตอน และความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณปรอทรวมและคุณสมบัติทางฟิสิกส์และเคมีของดินตะกอน รวมทั้งศึกษารูปแบบทางะรณีเคมีของสารปรอทในดินตะกอน และปริมาณปรอทที่อยู่ในรูปแบบที่เข้าสู่สิ่งมีชีวิตได้ (Bioavaiable Form) ผลการศึกษาปริมาณปรอทรวมในน้ำทะเล พบว่ามีค่าน้อยมากทั้งในฤดูแล้งและฤดูฝน และต่ำกว่าค่ามาตรฐานคุณภาพน้ำชายฝั่งทะเลของไทยหลายเท่า กล่าวคือ ค่าเแลี่ยที่พบในฤดูแล้งและฟดูฝนอยู่ระหว่าง <2-5.50 และ <2-11.70 แนนโนกรัมต่อลิตร ตามลำดับ สำหรับปริมาณปรอทรวมในดินตะกอนในฤดูแล้ง พบว่ามีค่าอยู่ในช่วงระหว่าง 0.006-0.130 ไมโครกรัมต่อกรัม น้ำหนักแห้ง และฤดูฝนมีค่าอยู่ในช่วงระหว่าง <0.0023-0.224 ไมโครกรัมต่อกรัม น้ำหนัดแห้ง ทั้งนี้ปริมาณปรอทรวมในดินตะกอนที่พบดังกล่าวมีค่าสุงกว่ามาตรฐานของสารปรอทในดินตะกอนของบางประเทศ ปริมาณปรอทรวมในดินตะกอนที่พบมีความสัมพันธ์ทางบวกค่อนข้างสูงมากกับออกไซด์ของเหล็ก ดินเหนียว สารอินทรีย์ และออกไซด์ของแทงกานีส โดยออกไซด์ของเหล็กเป็นองค์ประกอบในดินตะกอนที่มีบทบาทสำคัญมากในการดูดซับสารปรอทมากกว่าองค์ประกอบอื่น และจากการศึกษาปริมาณปรอททที่อยู่ในรูปแบบที่เข้าสู่สิ่งมีชีวิตได้พบว่ามีค่าน้อยไม่เกิน 22% ของปริมาณปรอทรวม โดยสอดคล้องกับผลการศึกษารูปแบบทางเคมีของสารปรอทในดินตะกอน ซึ่งพบว่าสารปรอทมีอยู่ 2 รูปแบบที่สำคัญ คือ รูปที่จับตัวกับสารอินทรีย์และซัลไฟด์ และรูปแบบที่อยู่ในโครงสรา้งของแร่ธาตุในดิน ซึ่งเป็นรูปแบบที่ไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต | th_TH |
dc.description.sponsorship | ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2546 | en |
dc.publisher | สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การตกตะกอนชายฝั่ง - - มาบตาพุด (ระยอง) - - วิจัย | th_TH |
dc.subject | การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม - - มาบตาพุด (ระยอง) - - วิจัย | th_TH |
dc.subject | นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด - - วิจัย | th_TH |
dc.subject | น้ำเสีย - - การวิเคราะห์ - - วิจัย | th_TH |
dc.subject | ปรอท - - การวิเคราะห์ - - วิจัย | th_TH |
dc.subject | มลพิษทางน้ำ - - มาบตาพุด (ระยอง) - - วิจัย | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล - - อาจารย์ - - วิจัย | th_TH |
dc.subject | มาบตาพุด (ระยอง) - - วิจัย | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช | th_TH |
dc.subject | โลหะหนัก - - การวิเคราะห์ - - วิจัย | th_TH |
dc.title | การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของสารปรอทในดินตะกอนและน้ำบริเวณนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด (ปีที่ 1) | th_TH |
dc.type | Research | th_TH |
dc.year | 2547 | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
viewobj (10) | 965.27 kB | Unknown | ดู/เปิด | |
valta.pdf | 965.27 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น