กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1475
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorกฤติน กิตติกรชัยชาญth
dc.contributor.authorพัทยา จันทร์เสงี่ยมth
dc.contributor.authorนฤมล ไชยชำนาญเวทย์th
dc.contributor.authorเอกนาจ อาจธนกุลth
dc.contributor.authorนันทนา หอมสุขth
dc.contributor.authorพัทยากร เกิดสุขth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะแพทยศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:07:06Z
dc.date.available2019-03-25T09:07:06Z
dc.date.issued2557
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1475
dc.description.abstractรูปแบบการวิจัย การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) จุดประสงค์การวิจัย 1. ศึกษาผลของการให้ความรู้ก่อนการวางยาสลบโดยใช้วีดีทัศน์ร่วมด้วยต่อความกังวลก่อนการผ่าตัดของผู้ป่วยที่มาผ่าตัด 2. ศึกษาเปรียบเทียบความกังวลของผู้ป่วยก่อนและหลังการประเมินก่อนการวางยาสลบของผู้ป่วยที่มาผ่าตัด กลุ่มตัวอย่าง ผู้ป่วยที่มารับการผ่าตัดและระงับความรู้สึก ที่โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยบูรพาจำนวน 203 คน วิธีการวิจัย หลังจากผู้ป่วยที่ผ่านการพิจารณาว่าเข้าเกณฑ์การวิจัยผู้ป่วยจะได้รับการประเมินก่อนการระงับความรู้สึกโดยแผนกวิสัญญี โดยการพูดคุย อธิบาย หลังจากนั้นผู้ป่วยจะดูวดีทัศน์เกี่ยวกับการระงับความรู้สึก โดยจะมีการวัดระดับความกังวลของผู้ป่วยโดยใช้ 100 mm. visual analog scale (VAS) ผู้ป่วยจะให้คะแนนความกังวลทั้งหมด 4 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 ก่อนการประเมิน ก่อนการระงับความรู้สึกโดยการพูดคุยกับแผนกวิสัญญี (VAS ก่อนคุย) ครั้งที่ 2 หลังจากพูดคุยกับแผนกวิสัญญีเสร็จแล้ว (VAS หลังคุย) ครั้งที่ 3 หลังจากรับชมวีดีทัศน์เกี่ยวกับการระงับความรู้สึก (VAS หลังดูวีดีทัศน์) ครั้งที 4 ในวันผ่าตัดในช่วงที่ผู้ป่วยรอเข้าห้องผ่าตัด (VAS ก่อนผ่าตัด) ผู้ป่วยจะตอบแบบสอบถามประเมินความพึ่งพอใจในการบริการของแผนกวิสัญญีช่วงก่อนจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล ผลการวิจัย จากการศึกษาผลว่า เมื่อได้รับความรู้เกี่ยวกับการระงับความรู้สึกจากทีมวิสัญญีแล้ว พบว่า ผู้ป่วยมีระดับความกังวล (VASหลังคุย) ลดลงอยู่ในระดับต่ำ ( =3.163, SD=2.853) และลดลงอย่างมีนัยยะสำคัญ เมื่อเปรียบเทียบกับระดับความกังวลก่อนการประเมิน ก่อนการระงับความรู้สึก (VAS ก่อนคุย) ( =3.754, SD=3.145) (p<.01) หลังจากได้รับชมวีดีทัศน์ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการระงับความรู้สึก พบว่า ผู้ป่วยมีระดับความกังวล (VAS หลังดูวีดีทัศน์) ลดลงจากเดิมอยู่ในระดับต่ำ ( =2.857, SD=2.810) และลดลงอย่างมีนัยยะสำคัญ เมื่อเปรียบเทียบกับระดับความกังวล ทั้งในช่วงก่อนการประเมินก่อนการระงับความรู้สึก (VAS ก่อนคุย) และระดับความกังวลหลังพูดคุย (VAS หลังคุย) (p<.01) ในวันที่มาผ่าตัดพบว่าผู้ป่วยมีความกังวล (VAS ก่อนผ่าตัด) เพิ่มมากขึ้นแต่ยังอยู่ในระดับต่ำ ( =3.901, SD=3.142) เมื่อเปรียบเทียบกับระดับความกังวลก่อนการประเมินก่อนการระงับความรู้สึก (VAS ก่อนคุย) พบว่าไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยยะสำคัญ จากการศึกษาความพึงพอใจของการระงับความรู้สึก (วางยาสลบ) คือเป็นร้อยละ 88.86 สรุปการวิจัย จากการศึกษาพบว่าความกังวลก่อนการผ่าตัดของผู้ป่วยลดลง ความกังวลก่อนการผ่าตัดของผู้ป่วยลดลงทั้ง 2 ช่วง ทั้งในช่วงหลังจากพูดคุยกับแผนกวิสัญญีและหลังจากดูวีดีทัศน์ และความพึงพอใจของผู้ป่วยอยู่ในระดับดีมาก การพูดคุยสักถามกับแผนกวิสัญญีเป็นวิธีปฏิบัติทั่วไปในการประเมินก่อนการระงับความรู้สึก การดูวีดีทัศน์เป็นวิธีหนึ่งที่นำมาใช้ร่วมด้วยในการประเมินก่อนการระงับความรู้สึกซึ่งการจากศึกษานี้ยืนยันได้ว่า การใช้วีดีทัศน์ร่วมด้วยสามารถลดความกังวลและความพึ่งพอใจของผู้ป่วยได้th_TH
dc.description.sponsorshipรายงานการวิจัยฉบับได้รับทุนวิจัยจากคณะกรรมการการอุดมศึกษาภายใต้โครงการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชนฐานรากประเภทงบประมาณแผ่นดิน ประจำปี 2555en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการผ่าตัดth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleผลของการประเมินก่อนการระงับความรู้สึกโดยใช้วีดีทัศน์ร่วมด้วยต่อความกังวลก่อนการผ่าตัดของผู้ป่วยที่มาผ่าตัด โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยบูรพา.th_TH
dc.title.alternativeEffect of pre anesthetic evaluation with video information on preoperative anxiety in patients undergoing surgery at Burapha university hospital.th_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.year2557
dc.description.abstractalternativeStudy design: Experimental research Objective: 1. Study the ettect of preanesthetic evaluation with video information on preoperative anxiety 2. Comparison of preoperative anxiety, before and after preanestheticevaluation with video information Population: 203 patients who were undergoing surgery and anesthesia at Burapha University Hospital. Methods: patients were evaluated preanesthesia by anesthesiateam , evaluation and explanation about anesthesia by staff, and then watch a video information about anesthesia. Measurement of anxiety levels by 100 mm. Visual analog scale (VAS) The measurement of anxiety level will be 4 periods 1st : pre-assessment before anesthesia by the anesthesia team to talk to (VAS befofe talk). 2nd : After talking to anesthesia team (VAS after the talk). 3rd : after watching a video about the anesthesia(VAS after watching the video). 4thon the day surgery , patients in the waiting room(VAS before surgery), Questionnaire to assess patient satisfaction in the service of the anesthesiology department , before discharge from the hospital. Result: Anxiety level aftelpreanesthetic evaluation (VAS after the talk) was low 3.163, SD = 2.853) and decreased significantly when compared to anxiety level before preanesthetic evaluation (VAS before talk) 3.7554 , SD = 3.145 ) (p <.01).Anxiety level after watching video (VAS after watching the video) was low (=2.857,SD = 2.810) and decreased significantly when compared to VAS before you talk and VAS after talk (p <.01). On the day of the surgery, anxiety level before surgery (VAS before surgery) was increased 3.901, SD 3.142) when compared to VAS before you talk. But were not differed significantly. Patient’s satisfaction of anesthesia was 88.86% Conclusion: preanesthetic evaluation with anesthetic staff and video information can decrease preoperative anxiety level in patients undergoing surgery at Burapaha university hospital.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น