กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1463
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ไพบูลย์ พงษ์แสงพันธ์ | |
dc.contributor.author | ยุวดี รอดจากภัย | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:07:05Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:07:05Z | |
dc.date.issued | 2557 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1463 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม เพื่อศึกษาพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ และแนวทางการดา เนินงานด้านการส่งเสริมสุขภาพในชุมชนโดยใช้การมีส่วนร่วมของชุมชนระยะการดา เนินการศึกษารวมทั้งสิ้น 3 ระยะ ในรายงานการวิจัยนี้ ดา เนินการวิจัยในระยะที่ 2 โดยสรุป ผลการวิจัยดังนี้ ระยะที่ 1 ศึกษาภาวะสุขภาพและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ โดยกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาในครั้งนี้คือผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในเขตจังหวัดระยอง ชลบุรี และจังหวัดสระแก้ว จา นวน 415 คนเก็บข้อมูลในช่วงเดือน มกราคม – สิงหาคม พ.ศ. 2555 เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ ซึ่งประกอบด้วย ข้อมูลส่วนบุคคล ข้อมูลภาวะสุขภาพและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพผลการศึกษาพบว่า การรับรู้ภาวะสุขภาพของตนเอง ส่วนใหญ่รู้สึกว่ามีสุขภาพดี ร้อยละ 46.7 และรู้สึกว่าสุขภาพไม่ดีร้อยละ18.6 พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของกลุ่มตัวอย่างจา แนกรายด้านได้ดังนี้ พฤติกรรมที่มี คะแนนเฉลี่ยสูงที่สุดคือ การสุขาภิบาลที่อยู่อาศัย ค่าเฉลี่ย 3.64 รองลงมาคือ พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพทางจิตวิญญาณและการปฏิบัติเพื่อความปลอดภัย ค่าเฉลี่ย 3.40 และพฤติกรรมที่ปฏิบัติต่า ที่สุดคือ การมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม ค่าเฉลี่ย 3.03ระดับการปฏิบัติพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพโดยภาพรวมอยู่ในระดับดีและดีมาก ระยะที่ 2 ทีมวิจัยสรุปว่ากระบวนการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนนั้น จะต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของชุมชน โดยและกระบวนการอื่นๆที่เกี่ยวข้องต่อเนื่องกันเพื่อดูและสุขภาพประชาชน เช่น แนวคิดเกี่ยวการพัฒนาสุขภาพภาคประชาชน แนวคิดเกี่ยวกับสุขภาพ แนวคิดการสร้างพลังอา นาจ และแนวคิดการทา งานโดย อาศัยภาคีเครือข่าย ซึ่งเป็นกระบวนการที่สา คัญในการส่งเสริมความเข้มแข็งให้ชุมชนพัฒนาศักยภาพด้านการส่งเสริมสุขภาพด้วยตนเอง ระยะที่ 3 การประเมินรูปแบบการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ และศึกษาปัญหาและอุปสรรคของกระบวนการมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยพบว่า พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุระหว่างก่อนและหลังการเข้าร่วมโครงการมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p <.05) ยกเว้นพฤติกรรมด้านปฏิบัติด้านโภชนาการ ปัญหาและอุปสรรคที่สาคัญของการกระบวนการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนคือประเภทหรือกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพที่หน่วยงานราชการหรือองค์ปกครองส่วนท้องถิ่นพัฒนาขึ้นไม่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้สูงอายุรายบุคคลได้ จึงควรสนับสนุนให้ผู้สูงอายุสร้างทางเลือกเพื่อหากิจกรรมที่เหมาะสมในการส่งเสริมสุขภาพเพื่อตอบสนองความต้องการเฉพาะบุคคลได้มากขึ้น | th_TH |
dc.description.sponsorship | งานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (เงินอุดหนุนรัฐบาล) พ.ศ. 2557 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การมีส่วนร่วม | th_TH |
dc.subject | ผู้สูงอายุ | th_TH |
dc.subject | พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ | th_TH |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุโดยใช้การมีส่วนร่วมของชุมชน | th_TH |
dc.title.alternative | Community participation on elderly health promotion | en |
dc.type | Research | |
dc.year | 2557 | |
dc.description.abstractalternative | This participatory action research aims to study health status and health promotion behaviors of the elderly in the community with involvement of the community. The project consisted by conducting in three phases which in this report conducted in phase 2 which the results were found that: Phase I: Perception of their health status were most samples felt that they are healthy 46.7 percent and 18.6 percent felt that they are poor health. The health promoting behavior of the samples were; the highest mean score was 3.64 on housing sanitation, followed by the behavioral health and spiritual practices to ensure the safety and behavior at the average is 3.40. The lowest average score of 3.03 on social interaction and behavior, the health promoting behaviors as a whole was good. Phase II: The research team concluded that the health of the elderly in the community. This study will require the involvement of the community and other processes related to continuous health development concepts such as concepts of health, the concept of empowerment, and the concept of working through partnership networks. This is a key process of health promotion and strengthen community development and health promotion on their own. Phase III: The evaluation for participation in the promotion of healthy aging and understanding barriers to participation in the development of quality of life were found that behaviors of the elderly between before and after participating were significant differences (p <.05), except for nutrition practice behaviors. Furthermore, importance barriers, of participation in health promotion for the elderly in the community is the health promotion activities of government agencies, the local government cannot be developed to meet the needs of seniors individually. Thus the process on supporting the elderly make a choice to find appropriate activities to promote health, to meet the individual needs more | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2559_107.pdf | 1.55 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น