กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1442
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | สมรัฐ ทวีเดช | th |
dc.contributor.author | วิรชา เจริญดี | th |
dc.contributor.author | ชนะ เทศคง | th |
dc.contributor.author | ณัฐวุฒิ เหลืองอ่อน | th |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:07:04Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:07:04Z | |
dc.date.issued | 2556 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1442 | |
dc.description.abstract | จากการออกสำรวจปลาแมนดารินในตลาดขายปลา ในระยะเวลาระหว่างเดือนมกราคม 2556 ถึง เดือนสิงหาคม 2557 พบปลาแมนดารินชนิด Green Mandarinfish มีปริมาณนำเข้าเฉลี่ย 115 ตัวต่อเดือน ราคาต่อตัวประมาณ 150-300 บาท ส่วนใหญ่มาจากประเทศอินโดนีเซีย และประเทศฟิลิปปินส์ จากการสำรวจโดยแบบสอบถามพบว่า มีการนำเข้าปลาแมนดารินทั้งหมด 2,193 ตัว มีความชุกของการเเกิดโรคติดเชื้อแบคทีเรีย 0.76% การติดเชื้อโรคจุดขาวน้ำเค็ม 2.87% การติดเชื้อโปรโตซัวเห็บระฆัง 0.27% และการติดเชื้อโปรโตซัว Amyloodinium 0.27% โรคที่ตรวจพบทั้งจากปลาแมนดารินที่นำเข้ามาใหม่ และปลาแมนดารินที่มีอยู่ในสถานที่เพาะเลี้ยงเดิม แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ โรคไม่ติดเชื้อ (Non-infectious disease) จากปัญหาการจัดการคุณภาพน้ำ หรืออุบัติเหตุ และโรคติดเชื้อ (Infectious disease) ที่พบคือ การติดปรสิตเห็บระฆัง ประสิต จุดขาวน้ำเค็ม Cryptocaryon irritans ปรสิต Amyloodinium ocellatum ปรสิตภายใน (Internal parasite) ที่ตรวจพบคือ กลุ่มพยาธิตัวกลม (Nematodes) และกลุ่มพยาธิแบน (Trematode) รวมถึงการติดเชื้อแบคทีเรียกลุ่ม Vibrio spp. ซึ่งเป็นสามเหตุหลักของการตายและการติดเชื้อแทรกซ้อน | th_TH |
dc.description.sponsorship | ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ ผ่านงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2556 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ปลาแมนดาริน | th_TH |
dc.subject | สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา | th_TH |
dc.title | การสำรวจความชุกและโอกาสเกิดโรคในปลาแมนดาริน Synchiropus splendidus (Herre, 1927) | th_TH |
dc.title.alternative | Disease surveillance and incidence of Mandarinfish, Synchiropus splendidus herre, 1927) | en |
dc.type | Research | |
dc.year | 2556 | |
dc.description.abstractalternative | Manadarinfish (Synchiropus splendidus) was surveyed in the fish market. Data was collected from a questionnaire and ill fish sampling between January 2013 to August 2014. Green mandarinfish were mostly found in this survey. Fish imports averaged 115 per month, about 150-300 bath sample, and mainly imported from Indonesia and Philippines. Total fish data from the questionnaire was 2,193. The prevalence of bacterial infection, marine white spot disease, Trichodinosis, and Amyloodinosis were 0.76%, 2.87%, 0.27%, and 0.27% respectively. Disease in surveyed Mandarinfish was divided into 2 categories: non:infectious disease and infectious disease. Non-infectious disease are caused by many factor such as inappropriate management, poor water quality and accidents. Pathogenic microorganism caused of infectious disease such as Trichodina sp., Cryptocaryon irritans, Amyloodinium ocellatum, Nematodes (roundworm), Trematode (fluke), and bacterial infection. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น