กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1389
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | สมชาย ยงศิริ | th |
dc.contributor.author | สุริยา โปร่งน้ำใจ | th |
dc.contributor.author | จิรนุช ธรรมคำภีร์ | th |
dc.contributor.author | ผกาพรรณ ดินชูไท | th |
dc.contributor.author | เพ็ชรงาม เต็งพฤทธิ์ธนากร | th |
dc.contributor.author | รัชนีพร ชื่นสุวรรณ | th |
dc.contributor.author | ศิริพร ตั้งจาตุรนต์รัศมี | th |
dc.contributor.author | ณรงชัย คุณปลื้ม | th |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะแพทยศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:04:31Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:04:31Z | |
dc.date.issued | 2557 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1389 | |
dc.description.abstract | ที่มาของปัญหา ภาวะโพแทสเซียมต่ำพบได้ร้อยละ 15-60 ในผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง นำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนต่างๆเช่น อ่อนแรง ทุพโภชนาการ และเสียชีวิต ยังไม่มีการรักษามาตรฐานสำหรับภาวะนี้ ยาspironolactone เป็นยาขับปัสสาวะออกฤทธิ์ต้าน aldosterone ที่ทำให้ระดับโพแทสเซียมในเลือดสูงขึ้นในคนปกติได้ วัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบระดับโพแทสเซียมในเลือดของผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องที่มีระดับโพแทสเซียมต่ำ ก่อนและหลังได้รับยา spironolactone ขนาด 25 มก.ต่อวันเป็นเวลา 4 สัปดาห์ วิธีวิจัย เป็นการศึกษาแบบ randomized, double-blinded, placebo-controlled, cross over study ใน ผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องที่มีระดับโพแทสเซียมในเลือดต่ำ ใช้ยา spironolactone ขนาด 25 มก.ต่อวันเป็นเวลา 4 สัปดาห์ สลับกับยาหลอก 4 สัปดาห์เว้นช่วง 2 สัปดาห์ วัดผลการศึกษาด้วยระดับโพแทสเซียม แมกนีเซียม ในเลือดก่อนและหลังได้รับยารวมทั้งปริมาณการขับโพแทสเซียมทางปัสสาวะและน้ำยาล้างท่อไตทางช่องท้อง ผลการศึกษา จากอาสาสมัคร 24 ราย มี 20 รายที่อยู่จนจบการศึกษา มี 10รายที่ไม่มีปัสสาวะ ปริมาณโพแทสเซียมทดแทนที่ได้รับไม่แตกต่างกันระหว่างกลุ่ม ระดับโพแทสเซียมในเลือดก่อนและหลังการักษาในกลุ่ม spironolactone กับยาหลอกไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (4.23+/-0.64 vs. 3.90+/-0.59 mEq/L for spironolactone p=0.077 and 3.84+/-0.62 vs. 3.91+/-0.52 for placebo p=0.551) ปริมาณการขับโดพแทสเซียมออกทางปัสสาวะและน้ำยาล้างไตทางช่องท้องก็ไม่แตกต่างกัน มีอาสาสมัคร 1 รายมีโพแทสเซียมสูงกว่า 5.5 mEq/L แต่กลับสู่ภาวะปกติเมื่อหยุดโพแทสเซียมทดแทน สรุป spironolactone ขนาด 25มก. ต่อวันเป็นเวลา 4 สัปดาห์ไม่มีผลต่อระดับโพแทสเซียมในเลือดของผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องที่มีภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ำ | th_TH |
dc.description.sponsorship | งานวิจัยฉบับนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประเภทงบประมาณแผ่นดิน ประจำปี 2555 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การล้างไต | th_TH |
dc.subject | ไตวายเรื้อรัง | th_TH |
dc.subject | โพแทสเซียม | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ | th_TH |
dc.title | ผลของยา Spironolactone ในผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องที่มีภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ำ | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of spironolactone in hypokalemia CAPD patients | en |
dc.type | Research | |
dc.year | 2557 | |
dc.description.abstractalternative | The incidence of hypokalemia in CAPD patients is about 15-60%, leading to significant complications such as weakness, malnutrition and death. There was no standard treatment other than potassium supplement in this setting. Spironolactone is an aldosterone antagonist that can increase serum potassium in normal subjects. Objective The objective of this study is to investigate serum potassium after 4 weeks treatment of spironolactone 25 mg/day in hypokalemic CAPD patients. Methods This is a Randomized, double-blinded, placebo-controlled, cross over study in hypokalemic CAPD patients. Study intervention is 4 weeks of oral spironolactone 25 mg/d or placebo, cross over after 2 weeks wash out period. Primary outcome is the difference of serum potassium before and after 4 weeks of spironolactone treatment. We also measure total daily potassium excretion, defined by the sum of 24-hr urine potassium and peritoneal fluid potassium excretion. Serum potassium is measured every 2 weeks, serum magnesium, urine and peritoneal fluid potassium measured before and after each treatment period. Results We enrolled 24 patients, 20 completed the cross over study. Ten patients were anuric. Total dose of potassium supplement were not different throughout study period. Serum potassium before and after study intervention were not significantly different in the both groups (4.23+/-0.64 vs. 3.90+/-0.59 mEq/L for spironolactone p=0.077 and 3.84+/-0.62 vs. 3.91+/-0.52 for placebo p=0.551). Total 24-hour potassium, magnesium, sodium excretion, urine volume and ultrafiltration volume were not affected by spironolactone or placebo. There was 1 episode of hyperkalemia (5.6 mEq/L) during spironolactone treatment period. Conclusions Spironolactone 25 mg/d does not have significant effect on serum potassium or urine and peritoneal excretion rate in hypokalemic CAPD patents. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2566_066.pdf | 3.25 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น