กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1346
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | วิเชียร ชาลี | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:04:28Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:04:28Z | |
dc.date.issued | 2556 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1346 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ศึกษาผลของอัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสาน และปริมาณเถ้าถ่านหิน ที่มีผลต่อการแทรกซึมของคลอไรด์ในคอนกรีตที่ใช้มวลรวมจากเศษคอนกรีต ที่อยู่ในสภาวะแวดล้อมทางทะเล โดยใช้เถ้าถ่านหินจากโรงไฟฟ้าแม่เมาะแทนที่ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 ที่ใช้มวลรวมจากเศษคอนกรีตเป็นมวลรวมหยาบ ในอัตราส่วนร้อยละ 0, 15, 25, 35 และ 50 โดยน้ำหนักวัสดุประสาน และอัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสาน (W/B) เท่ากับ 0.40, 0.45, และ 0.50 หล่อคอนกรีต ทรงลูกบาศก์ขนาด 200 x 200 x 200 มม. 3 หลังจากบ่อคอนกรีตในน้ำประปาจนมีอายุครบ 28 วัน นำตัวอย่างคอนกรีตไปแช่น้ำทะเลในสภาวะเปียกสลับแห้ง ที่ จ. ชลบุรี ทดสอบการแทรกซึมของคลอไรด์ โดยใช้กรดเป็นตัวทำละลายตามมาตรฐาน ASTM C 1152 หลังคอนกรีตแช่น้ำทะเลเป็นเวลา 365 วัน ผลการศึกษาพบว่าคอนกรีตที่ผสมเถ้าถ่านหิน สามารถลดการแทรกซึมของคลอไรด์ได้ดีกว่า คอนกรีตที่ใช้ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่หนึ่งเป็นวัสดุประสานเพียงอย่างเดียว เมื่อเพิ่มปริมาณเถ้าถ่านหินในส่วนผสมมากขึ้น ช่วยลดการแทรกซึมของคลอไรด์ในคอนกรีตได้ดีขึ้น การใช้อัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสานที่ลดลงสามารถลดการแทรกซึมของคลอไรด์ได้ดีขึ้นโดยเห็นผลชัดเจนในคอนกรีตที่ไม่ได้ผสมเถ้าถ่านหินมากกว่าคอนกรีตที่ผสมเถ้าถ่านหิน | th_TH |
dc.description.sponsorship | สนับสนุนโดย ทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | คอนกรีต | th_TH |
dc.subject | เถ้าถ่านหิน | th_TH |
dc.subject | สิ่งแวดล้อมทางทะเล | th_TH |
dc.subject | สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย | th_TH |
dc.title | การปรับปรุงความคงทนของคอนกรีตที่ใช้มวลรวมจากเศษคอนกรีตเก่าเพื่อป้องกันการแทรกซึมของคลอไรด์ในสิ่งแวดล้อมทะเล | th_TH |
dc.title.alternative | Improving durability of recycled aggregate concrete for protection against chloride penetration under marine environment | en |
dc.type | Research | |
dc.year | 2556 | |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this investigation were to study the effect of W/B ratios and fly ash contents on chloride penetration of recycled aggregate concrete under marine environment. Original fly ash from Mae Moh power plant was used as a partial replacement of Portland cement type I at 0, 15, 25, 35 and 50% by weight of binder. Water to binder ratios (W/B) were varied as 0.40, 0.45, and 0.50. Concrete cube specimens of 200 x 200 x 200 mm 3 were cast. Subsequently, the hardened concrete specimens were cured in fresh water until the age of 28 days and then were exposed to tidal zone of marine environment in Chonburi province. The specimens were tested for acid soluble chloride (ASTM C1152) in concrete after being exposed to the tidal zone for 365 days. The results showed that concretes mixed with fly ash tended to have lower chloride penetration than that Portland cement type I concrete. The increase of fly ash replacement level in concrete reduced the chloride penetration. When the W/B ratio of concrete was reduced, the decrease of chloride penetration in concrete without fly ash was higher than that of the fly ash concrete | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น