กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1345
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวิเชียร ชาลี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:04:28Z
dc.date.available2019-03-25T09:04:28Z
dc.date.issued2556
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1345
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาการใช้กากแคลเซียมคาร์ไบด์ผสมกับเถ้าถ่านหินเพื่อป้องกันการกัดกร่อนของคอนกรีตเสริมเหล็กในสิ่งแวดล้อมทะเล โดยใช้กากแคลเซียมคาร์ไบด์จากโรงงานโดยตรงที่มีขนาดอนุภาคผ่านตะแกรงเบอร์ 8 ในการศึกษาครั้งนี้ใช้ส่วนผสมแคลเซียมคาร์ไบด์กับเถ้าถ่านหินและปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 ในอัตราส่วน 50:30:20, 50:20:30, 40:40:20, 40:30:30, 30:50:20, 30:40:30 และ 0:0:100 โดยน้ำหนัก ทำการหล่อคอนกรีตทรงกระบอกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 100 มม. สูง 200 มม. เพื่อใช้ในการทดสอบกำลังอัดที่บ่มในน้ำประปาเป็นเวลา 28 วัน, 90 และ 180 วัน เพื่อศึกษาผลของสารละลายแมกนีเซียมซัลเฟตต่อคอนกรีต ได้ทดสอบกำลังอัดคอนกรีตกลุ่มที่แช่ในสารละลายแมกนีเซียมซัลเฟต เป็นเวลา 90 และ 180 วัน นอกจากนั้นเตรียมตัวอย่างคอนกรีตขนาด 150x150x150 มม 3 โดยทำการฝังเหล็กเส้นกลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 9 มม. ยาว 50 มม. ที่ระยะหุ้ม 20 และ 50 มม. เพื่อทดสอบการเกิดสนิม หลังจากแช่ในสภาวะแวดล้อมทะเลในสภาพเปียก สลับแห้งเป็นเวลา 90 และ 180 วัน ผลจากการศึกษาพบว่า การใช้กากแคลเซียมคาร์ไบด์ผสมในคอนกรีตมากขึ้นส่งผลทำให้กำลังอัดของคอนกรีตลดลง กากแคลเซียมคาร์ไบด์มีแนวโน้มทำให้ป้องกันการกัดกร่อนของเหล็กเสริมได้ดีขึ้นถึงแม้กำลังอัดจะต่ำกว่าคอนกรีตธรรมดา การลดลงของกำลังอัดเนื่องจากซัลเฟตมีมากขึ้น ตามปริมาณการใช้กากแคลเซียมคาร์ไบด์ที่มากขึ้นth_TH
dc.description.sponsorshipสนับสนุนโดย ทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectกากแคลเซียมคาร์ไบด์th_TH
dc.subjectคอนกรีตเสริมเหล็กth_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.subjectเถ้าถ่านหินth_TH
dc.titleการป้องกันการกัดกร่อนของคอนกรีตเสริมเหล็กในสิ่งแวดล้อมทะเลและในสารละลายซัลเฟตโดยใช้กากแคลเซียมคาร์ไบด์th_TH
dc.title.alternativeUtilization of calcium carbide residue residue in corrosion protection for reinforced concrete under marine environment and sulfate solutionen
dc.typeResearch
dc.year2556
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to utilize calcium carbine residue (CR) and fly ash (F) mixtures for corrosion protection of reinforced concrete under marine environment. The original CR from industries with the particles passed a sieve No. 8 was used. The ratio of 50:30:20, 50:20:30, 40:40:20, 40:30:30, 30:50:20, 30:40:30 and 0:0:100 by weight of CR : Mae Moh bfly ash: Portland cement were used as a binder. The concrete cylinder specimens of 100 mm x 200 mm were prepared for compressive strength test at 28, 90 and 180 days after curing in the water at room temperature. In order to study the effect of magnesium sulfate solution on concrete, the compressive strength was also investigated after being exposed to magnesium sulfate solution for 90 and 180 days. In addition, concrete cube specimens of 150x150x150 mm 3 were cast and steel bars of 9-mm in diameter and 50-mm in length were embedded at the covering depth of 20 and 50 mm in concrete. These concrete specimens were tested for steel corrosion after exposed to a tidal zone of seawater for 90 and 180 days. The result showed that the use of CCR in concrete can be efficiently employed to protect the steel corrosion in concrete, although the compressive strength of CCR concrete was lower than normal concrete. The loss of compressive strength due to magnesium sulfate (MgSo4) solution founded to be increased with increasing of CCR replacement.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2567_190.pdf7.02 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น