กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1311
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorยุวดี รอดจากภัยth
dc.contributor.authorกุลวดี โรจน์ไพศาลกิจth
dc.contributor.authorไพบูลย์ พงษ์แสงพันธ์th
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:04:25Z
dc.date.available2019-03-25T09:04:25Z
dc.date.issued2556
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1311
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบรูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในประเทศไทยและประเทศญี่ปุ่นด้วยวิธี Benchmaking เก็บรวมบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแบบสัมภาษณ์ผู้ให้บริการ และแบบวิเคราะห์องค์กรต้นแบบ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า คัดเลือกองค์กรต้นแบบได้ 2 แห่ง คือ Sozokai Medical Plaza และ Nihon University ITABASSHI Hospital ซึ่งมี Best Practices ในการดูแลผู้สูงอายุ และเมื่อเปรียบเทียบรูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในประเทศไทยและประเทศญี่ปุ่น รูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในประเทศไทยและประเทศญี่ปุ่นมีความเหมือนกันเป็นส่วนใหญ่ เช่น มีนโยบายการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว การดูแลผู้สูงอายุโดยตรอบครัวและชุมชน สวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุ แนวปฏิบัติที่ดี/สถาปัตยกรรม/ สิ่งประดิษฐ์ สำหรับผู้สูงอายุแต่มีความแตกต่างกันในรายละเอียดบางอย่าง เช่น มาตรการในการดูแลผู้สูงอายุในญี่ปุ่นจะเหมือนกันทั้งภาครัฐและเอกชน การดูแลผู้สูงอายุจะมีบริบททางวัฒนธรรมเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย การดูแลผู้สูงอายุโดยครอบครัวและชุมชนในประเทศไทยและประเทศญี่ปุ่นมีการดำเนินการที่จะลดการพึ่งพิงของผู้สูงอายุและพยายามให้ผู้สูงอายุได้พึ่งตนเองได้ในขณะเดียวกันจากจำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้นและผู้สูงอายุที่มีอายุยืนนานขึ้น ซึ่งจำเป็นต้องมีระบบการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุ ที่ชัดเจนมากขึ้นดังนี้ 1) ใช้ครอบครัวและชุมชนเป็นฐานในการดูแล มีสังคมของผู้สูงอายุให้ผู้สูงอายุได้ทำกิจกรรมร่วมกัน 2) มีการดูแลในวิถีชีวิตประจำวัน การดูแลอนามัยพื้นฐาน 3) มีการจัดอบรม อาสาสมัครเพื่อการดูแลผู้สูงอายุ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจและแรงจูงใจในการดูแลผู้สูงอายุ 4) มีธุรกิจการรับจ้างดูแลผู้สูงอายุ และ 5) มีเครือข่ายในการดูแลผู้สูงอายุ This research aims to compre the health care model of the elderly in Thailland and Japan by Benchmarking. Data collect consisted of interviews of providers and foundation analysis. The qualitative data was analyze by content analysis. The results showed that the foundation has selected two of the Sozokai Medical Plaza and Nihon University ITABASHI Hospital with best practices in caring for the elderly. When comparing the patterens of health care for the elderly in Thailand and Japan pattern health care for the elderly in Thailand and Japan pattern, as well as most of the elderly long-term care policy. Elderly care by family and coommunity, welfare for elderly, good practices, architecture, artifacts for the elderly, but are different in some details, for example. Standard of care of the elderly in Japan are the same for both bublic and private. The elderly are involved with the cultural context. Elderly care by family and community in Thailand and Japan have been implemented to reduce the reliance of the elderly and try to keep seniors independent at the same time, the number of elderly is increasing and the elderly to live long. Up it has to be a long-term care system for the elderly. The more obvious: 1 Using family and community-based care. A society of elderly seniors doing activities together. 2. Has to take care of the daily lifestyle, basic health care. 3. Has been training volunteers to care for the elderly. In order to have knowledge understanding and motivation to care for the elderly. 4. The elderly care business contract 5. Has a network of care for the elderly.th_TH
dc.description.sponsorshipการวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ งบประมาณแผ่นดิน ปี พ.ศ. 2556en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการพัฒนาชุมชนth_TH
dc.subjectครอบครัวต้นแบบth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleรูปแบบการพัฒนาชุมชนและครอบครัวต้นแบบเพื่อดูแลผู้สูงอายุแบบบูรณาการ (ปีที่ 2)th_TH
dc.title.alternativeModel of community development and family to case for the elderly master integrated (Phase 2)en
dc.typeResearch
dc.year2556
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น