กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1301
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorอานนท์ วงษ์แก้ว
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:04:25Z
dc.date.available2019-03-25T09:04:25Z
dc.date.issued2556
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1301
dc.description.abstractการศึกษานี้เป็นการนำเสนอพฤติกรรมข้อต่อคาน-เสาเหล็กก่อสร้างในประเทศไทย เมื่อแรงรับวัฏจักรด้วยการทดสอบตัวอย่างในห้องปฏิบัติการ ข้อต่อมีลักษณะเชื่อมรอบหน้าตัดคานกับปีกเสา ดังนั้นข้อต่อเป็นแบบชนิดถ่ายโมเมนต์ ขนาดหน้าตัดคานและเสาที่ใช้ทดสอบประกอบด้วยเสาเหล็กเกรด SS400/SM400 หน้าตัด H ขนาดหน้าตัด 200x200 มิลลิเมตร มีน้ำหนัก 49.9 กิโลกรัมต่อความยาวหนึ่งเมตร (H200x49.9kg/m) ยาว 2859 มิลลิเมตร และคานเหล็กเกรด SS400/SM400 หน้าตัด H ขนาดหน้าตัด 150x150 มิลลิเมร มีน้ำหนัก 31.5 กิโลกรัมต่อความยาวหนึ่งเมตร ยาว 2630 มิลลิเมตร การทดสอบทำตามมาตรฐานการทดสอบข้อต่อคาน-เสาเหล็กขนาดใหญ่กำหนดโดย SAC 1996 ผลการทดสอบตัวอย่าง BC1 เริ่มเกิดการครากเมื่อปลายคานเคลื่อนที่ในรอบประมาณ 38 มิลลิเมตร ปีกเสาด้านหลังครากที่ระยะการเคลื่อนที่ปลายคานเท่ากับ 75 มิลลิเมตร ส่วนแผ่น panel zone เกิดการครากที่ระยะการเคลื่อนที่ปลายคานเท่ากับ 90 มิลลิเมตร และสามารถทดสอบผ่านรอบการเคลื่อนที่สูงสุด 125 มม. ได้สมบูรณ์ทั้ง 2 รอบ โดยไม่มีรอยร้าวหรือการฉีกขาดขึ้นในเสาและคาน ตัวอย่าง BC1 รับแรงในรอบบวกได้สุงสุดเท่ากับ 32 กิโลนิวตัน ซึ่งมีการเคลื่อนตัวที่ปลายคานเท่ากับ +125 มม. และรับแรงในรอบลบได้สูงสุดเท่ากับ 42 กิโลนิวตัน ซึ่งมีการเคลื่อนตัวที่ปลายคานเท่ากับ -125 มม. ตัวอย่างทดสอบหมุนได้สูงสุดในช่วงพลาสติกเท่ากับ 0.03033 เรเดียน เมื่อแรงกระทำในทิศทางบวก และหมุนได้สูงสุดในช่วงพลาสติกเท่ากับ 0.02716 เรเดียน เมื่อแรงกระทำในทิศทางลบ นอกจากนี้เมื่อพิจารณารายละเอียดพบว่า คานและเสาหมุนในช่วงพลาสติกได้ใกล้เคียงกัน แต่น้อยกว่าการหมุนของ panel zone ในช่วงพลาสติกth_TH
dc.description.sponsorshipรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ปีที่ 2 ทุนอุดหนุนการวิจัย งบประมาณแผ่นดิน ประจำปี 2555en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectข้อต่อth_TH
dc.subjectคานth_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.titleกำลังและความเหนียวของข้อต่อโครงสร้างเหล็ก ที่ก่อสร้างในประเทศไทยภายใต้แรงแผ่นดินไหว (รายงานฉบับสมบูรณ์ปีที่ 2)th_TH
dc.title.alternativeStrength and ductility of steel connections constructed in Thailand under earthquake loaden
dc.typeResearch
dc.year2556
dc.description.abstractalternativeThe study presents the test results of a steel beam-column connection. The experiment was successfully implemented by using Universal testing machine (UTM) at Burapha University. The steel connection was named as BC1, comprised of H200x49.9 kg/m as a column and H150x31.5 kg/m as a beam, with a steel grade SS400/SM400. The beam and column have lengths of 2630 nm. and 2859 mm., respectively. All experimental setups including loading steps, number of cycles, and instrumentations to the specimen are followed the guidleines suggested by SAC 1996. The test shown a success result of using UTM to test a full size beam-column connection. Overall, the connection starts to yield at a cycle of the tip beam displacement of 38 mm. The column and panel zone have signs of yielding when the displacements at the tip beam are 75 mm. and 90 mm., respectively. The connection was completely tested up to the cycle of 125 mm. tip beam displacement without any cracks or major damages to the connection, except the some yielding in the beam, column, and panel zone. The connection can maintain the maximum load of 31.5 kn. oin a positive cycle and 42 kn. in a negative cycle throughout the maximum displacements. The specimen BC1 has a total plastic retation of 0.03033 and 0.02716 radians in positive and negative cycles. The beam and column have almost the same plastic rotation, but less plastic rotation producing from the panel zone.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น