กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1293
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorทวีชัย สำราญวานิช
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:04:24Z
dc.date.available2019-03-25T09:04:24Z
dc.date.issued2556
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1293
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มุ่งศึกษาปริมาณคลอไรด์วิกฤตของคอนกรีตประเภทต่าง ๆ โดยใช้ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ ประเภทที่ 1 ประเภทที่ 3 และประเภทที่ 5 และอัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสานที่ใช้เท่ากับ 0.40, 0.50 และ 0.60 มีการใช้เถ้าลอยแทนที่วัสดุประสานร้อยละ 30 และ 50 และตะกรันเตาถลุงเหล็กบดแทนที่วัสดุประสานร้อยละ 20 30 40 50 และ 70 บ่มคอนกรีตเป็นเวลา 7 28 และ 56 วัน แล้วทดสอบปริมาณคลอไรด์วิกฤตของคอนกรีตโดยอาศัยหลักการตามมาตรฐาน ASTM G109 และ ASTM C876 ซึ่งตรวจวัดการเกิดสนิมของเหล็กเสริมจากความหนาแน่นกระแสไฟฟ้าและศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์ทุกช่วง ๆ ละ 2 วัน จนกระทั่งมีการเปลั้ยนแปลงทั้งความหนาแน่นกระแสไฟฟ้าและศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์อย่างชัดเจน จึงเจาะคอนกรีตมาหาปริมาณคลอไรด์ที่ระดับความลึกต่าง ๆ จากผิวหน้าของคอนกรีต จากการศึกษาพบว่า คอนกรีตที่ใช้ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 3 มีระยะเวลาการเริ่มเกิดสนิมของเหล็กเสริมและปริมาณคลอไรด์วิกฤติของคอนกรีตสูงที่ใช้ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 และประเภทที่ 5 ทั้งที่อัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสาน 0.50 และ 0.60 แต่ที่อัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสาน 0.40 คอนกรีตที่ใช้ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 กลับให้ระยะเวลาการเริ่มเกิดสนิมของเหล็กเสริมและปริมาณคลอไรด์วิกฤตของคอนกรีตดีที่สุด นอกจากนี้พบว่า คอนกรีตที่ใช้เถ้าลอยแทนที่วัสดุประสานร้อยละ 30 มีระยะเวลาการเริ่มเกิดสนิมของเหล็กเสริมในคอนกรีตและปริมาณคลอไรด์วิกฤตและกำลังอัดของคอนกรีตมากกว่าคอนกรีตที่ใช้เถ้าลอยที่ที่วัสดุประสานร้อยละ 50 แต่ยังคงน้อยกว่าคอนกรีตที่ใช้ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 ล้วน เมื่อใช้ระยะเวลาบ่ม 28 วัน และ 56 วัน และอัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสาน 0.60 สุดท้ายพบว่า คอนกรีตที่ใช้ตะกรันเตาถลุงเหล็กบดแทนที่วัสดุประสาน ร้อยละ 20 มีระยะเวลาการเริ่มเกิดสนิมของเหล็กเสริมในคอนกรีตและปริมาณคลอไรด์วิกฤตของคอนกรีตสูงกว่าคอนกรีตที่ใช้ปูนซีเมนต์ประเภทที่ 1 ล้วน เมื่อใช้ระยะเวลาบ่ม 7 วัน และอัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสาน 0.50 และ 0.60th_TH
dc.description.sponsorshipสนับสนุนโดยทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2555 สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติen
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectคอนกรีตth_TH
dc.subjectเกลือคลอไรด์th_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.titleปริมาณคลอไรด์วิกฤตในคอนกรีตสำหรับการเริ่มเกิดสนิมของเหล็กเสริมth_TH
dc.title.alternativeCritical chloride content in concrete for the depassivation of steelen
dc.typeResearch
dc.year2556
dc.description.abstractalternativeThis research aims to study chloride threshold content of various types of concrete. Portland cement Type I, III and V and water to binder ratio of 0.40, 0.50 and 0.60 were used. The replacement of fly ash to binder was varied at 30% and 50%. The replacement of ground granulated blast furnace slag to binder of 20% 30% 40% 50% and 70% was investigated. The concrete specimens were cured for 7, 28 and 56 days. Then the test of chloride threshold content of concrete based on ASTM G109 and ASTM C876 by measuring the corrosion of steel with the current density and half-cell potentials at 2-day period was performed. When both current density and half-cell potentials have been changed clearly, concrete specimens were drilled along the exposed surface to the steel level in order to investigate chloride content at different depth of concrete. From the study, it was found that concrete with Portland cement type III had higher depassivation time of steel and chloride threshold content of concrete than those with Portland cement type I and type V at water to binder ratio of 0.50 and 0.60. but, when water to binder ratio was 0.40, concrete with Portland cement type I had the highest depassivation time and chloride threshold content. Furthemore, it was found that concrete containing fly ash at 30% replacement of binder had higher depassivation time of steel and chloride threshold content and compressive strength of concrete than that containing fly ash at 50% replacement of binder, but still be lower than concrete with Portland cement type I only at 28-day and 56-day of curing time and water to binder ratio of 0.60 Finally, concrete containing ground granulated blast furnace slag at 20% replacement of binder had higher depassivation time of steel and chloride threshold content of concrete than concrete with Portland cement type I only at 7-day of curing time and water to binder ratio of 0.50 and 0.60.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น