กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1283
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorชลี ไพบูลย์กิจกุล
dc.contributor.authorเบ็ญจมาศ ไพบูลย์กิจกุล
dc.contributor.authorรชนิมุข หิรัญสัจจาเลิศ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. คณะเทคโนโลยีทางทะเล
dc.date.accessioned2019-03-25T09:04:23Z
dc.date.available2019-03-25T09:04:23Z
dc.date.issued2556
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1283
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสารเร่งสีสำหรับสัตว์น้ำจากดอกดาวเรือง Tagetes erecta การศึกษาแบ่งออกเป็น 3 การทดลอง การทดลองที่ 1 ศึกษาผลของการเสริมดอกดาวเรืองในอาหารสำเร็จรูปต่อความเข้มสี อัตราการเจริญ และอัตราการรอดตายของกุ้งกุลาดำ Penaeus monodon โดยทำการทดลองจำนวน 4 ชุดการทดลอง เปลี่ยนแปลงปริมาณดาวเรืองในอาหาร 0,2,4, และ 6 เปอร์เซ็นต์ ดำเนินการทดลองเป็นระยะเวลา 60 วัน เก็บข้อมูลการเจริญเติบโต อัตรารอดทุก 15 วัน และวิเคราะห์หาปริมาณคาร์โรทินอยด์ที่สะสมในเนื้อกุ้งกุลาดำ เมื่อสิ้นสุดการทดลอง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีวิเคราะห์ความแปรปรวนและเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระหว่างชุดการทดลองโดยวิธี Duncan's New Multiple Range Test ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์ ผลการวิจัยพบว่า กุ้งที่ได้รับอาหารที่ผสมกลีบดอกดาวเรืองที่ระดับ 0,2 และ 6 เปอร์เซ็นต์ มีอัตราการเจริญเติบโตทั้งด้านน้ำหนักและความยาวไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (P>0.05) แต่มีอัตราการเจริญเติบโตทั้งด้านน้ำหนักและความยาวน้อยกว่ากุ้งที่ได้รับอาหารที่ผสมกลีบดอกดาวเรือง 4 เปอร์เซ็นต์ อย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) อัตราการรอดพบว่า กุ้งที่ได้รับอาหารที่ผสมกลีบดอกดาวเรืองทุกระดับมีอัตราการรอดไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (P>0.05) การเสริมกลีบดอกดาวเรืองในอาหารมีผลทำให้กุ้งมีการสะสมคาร์โรทินอยด์ในเนื้อเยื่อมากขึ้นth_TH
dc.description.sponsorshipได้รับทุนอุดหนุนการวิจัย ประจำปีงบประมาณ 2555 จากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาen
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะเทคโนโลยีทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรีth_TH
dc.subjectคาร์โรทินอยด์th_TH
dc.subjectดอกดาวเรืองth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleการพัฒนาสารเร่งสีสำหรับสัตว์น้ำจากดอกดาวเรือง Tagetes animalsth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of color accelerator for aquatic animals from marigold Tagetes erectaen
dc.typeResearchth_TH
dc.year2556
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to develop pigment additive from marigold Tagetes erecta. This study was divided into 3 experiments. The first experiment was effect of marigold petal addition in artificial feed on pigmentation, growth and survival of black tiger shrimo Penaeus monodon. Four treatment including 0, 2, 4 and 6 percent of marigold petal addition had been used. The experiment had been operated 60 days. Data collections were growth and survival of shrimp every 15 days. At the end of experiment, shrimp flesh had been collected for carotenoid analysis. Mean of growth, survival and carotenoid in shrimp flesh were analyzed by ANOVA and Duncan's new multiple range test at 95 percent confidence level. Result shoe that shrimp fed diet containing 0,2 and 6 percent of marigold petalhad not significantly (P>0.05) different on growth in both of weight and length but the growth of these treatments had significantly lower weight and length (P<0.05) than shrimp fed diet containing 4 percent of marigold petal. Shrimp fed all diet had not significantly (P>0.05) different on survival rate. The addition of marigold petal in aetificial feed could improve the cumulative carotenoid in shrimp.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น