กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12622
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorวัลลภ ใจดี
dc.contributor.authorลลิตา จันมี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์
dc.date.accessioned2024-01-25T08:46:46Z
dc.date.available2024-01-25T08:46:46Z
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12622
dc.descriptionงานนิพนธ์ (ส.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2559
dc.description.abstractงานวิจัยที่เกี่ยวกับการออกกำลังกายที่มีผลต่อการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานมีจำนวนมาก ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการออกกำลังกายแบบแอโรบิกที่มีต่อการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 สืบค้นข้อมูลโดยฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิคส์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539-2558 เป็นงานวิจัยทดลอง และกึ่งทดลองทั้งหมด 28 เรื่อง วิเคราะห์ประสิทธิผลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป Revman 5.3 เพื่อคำนวณหาความแตกต่างค่าเฉลี่ยรวมทั้งหมด ผลการศึกษาพบว่า การออกกำลังกายที่ปรากฏในงานวิจัยที่นำมาวิเคราะห์อภิมานเป็นรูปแบบการออกกำลังกายแบบแอโรบิก มีระยะเวลาในการออกกำลังกายตั้งแต่ 4-12 สัปดาห์ สามารถส่งเสริมการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดทั้งวัดผลจากน้ำตาลของระดับน้ำตาลในเลือดสะสมที่เกาะติดเม็ดเลือดแดง (HbA1c) และจากระดับน้ำตาลภายหลังงดอาหารมาอย่างน้อย 8 ชั่วโมง (FBS) ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.01) โดยเฉพาะการออกกำลังกายแบบโยคะ (WMD 15.06; 95%CI -16.14, 46.26) แต่ก็ยังพบว่า มีการศึกษาวิธีการออกกำลังกายแบบแอโรบิกแบบต่าง ๆ จำนวนน้อย ซึ่งอาจมีข้อจำกัดในการแนะนำให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานแต่ละบุคคลที่มีลักษณะที่แตกต่างกัน ดังนั้น จึงต้องพิจารณาตามความเหมาะสมในการจัดแนวทางปฏิบัติในการจัดการระบบบริการสุขภาพให้สอดคล้องกับผู้ป่วยเบาหวานในลักษณะที่ต่างกัน
dc.language.isoth
dc.publisherคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectเบาหวาน -- โรค -- การรักษา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์
dc.subjectเบาหวาน
dc.subjectHealth Sciences
dc.subjectเบาหวาน -- การป้องกันและควบคุม
dc.titleการวิเคราะห์อภิมานผลของการออกกำลังกายที่มีผลต่อการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวาน
dc.title.alternativeThe results of met-nlysis exercise towrds control blood sugr level of dibetes mellitus
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeResearches on exercise to control blood sugar levels of diabetic patients are many. The study is compiled and a summary of research findings. Therefore, this research is a meta-analysis aimed of review studies on the effect of aerobic exercise on control blood sugar levels in type 2 diabetes mellitus. Data from between 1996-2015 was searched via electronic-database. The final 28 experimental and quasi-experimental studies. The effectiveness was analyzed using Review Manager Software version 5.3 statistical software to calculate the weight mean difference. The study results showed that exercises presented in the studies for our meta-analysis could be classified into aerobic exercises. Exercise duration widely ranged from 4 to 12 weeks. Exercise interventions significantly impoved glycermic control (HbA1c) and the sugar levels measured after more than 8 hours of fasting (FBS) indicated by weighted mean post intervention HbA1c and FBS were lower in exercise groups compared with control groups (p < 0.01). Especially an exercises with yoga (WMD 15.06; 95%CI -16.14, 46.26) But there are less the other method of aerobic exercise. There are subject to restrictions on type 2 diabetes mellitus different individual. Therefore, appropriate to consider in the management practices of the health care system in accordance with diabetes in type 2 diabetes mellitus different individual.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineสาธารณสุขศาสตร์
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf1.28 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น