กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12617
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วัลลภ ศัพท์พันธุ์ | |
dc.contributor.author | กัญญาภัค ประทุมชมภู | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2024-01-25T08:46:45Z | |
dc.date.available | 2024-01-25T08:46:45Z | |
dc.date.issued | 2559 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12617 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (ส.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2559 | |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงพรรณนาในรูปแบบวิจัยเชิงความสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์ เพื่อหาความสัมพันธ์ของปัจจัยแรงจูงใจในการป้องกันโรคต่อการรับบริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ในผู้สูงอายุ ตำบลแสนสุข กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุ ที่ได้รับและไม่ได้รับบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ จำนวน 196 คน ระยะเวลาเก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมิถุนายนถึงเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2559 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และหาความสัมพันธ์ด้วยไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 63.3 มีอายุเฉลี่ย 65.8 ปี (SD = 4.27) ส่วนใหญ่ระดับการศึกษาชั้นประถมศึกษา ร้อยละ 73.0 ประสบการณ์การเจ็บป่วยในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมาผู้สูงอายุเคยมีอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ร้อยละ 30.1 มีประวัติการแพ้ไก่หรือไข่ ร้อยละ 1.0 ประวัติการป่วยด้วยโรคไข้หวัดใหญ่ ผู้สูงอายุหรือบุคคลในครอบครัวเคยป่วยเป็นโรคไข้หวัดใหญ่เพียง ร้อยละ 6.1 ผู้สูงอายุมีแรงจูงใจในการป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 74.5โดยมีการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้หวัดใหญ่อยู่ในระดับสูง ร้อยละ 69.9 การรับรู้ความสามารถตนเองใน การป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ร้อยละ 60.2 ปัจจัยแรงจูงใจในด้านการรับรู้ความรุนแรงของโรคไข้หวัดใหญ่ร้อยละ 54.1 และความคาดหวังในประสิทธิผลของการตอบสนองต่อการป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ร้อยละ 48.5 อยู่ ในระดับปานกลาง พบว่าการรับรู้ความสามารถตนเองในการป้องกันโรคมีความสัมพันธ์กับการรับบริการวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2 = 9.002, value = 0.003 ผลการศึกษาสามารถนำไปเป็นฐานข้อมูลการสร้างแรงจูงใจในการรับบริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ให้ผู้สูงอายุมีความต้องการรับบริการฉีดวัคซีนและเดินทางไปรับบริการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ รวมทั้งส่งเสริมให้รับบริการต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี สนับสนุนให้ผู้สูงอายุเข้าถึงการรับบริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ได้ในสถานบริการสาธารณสุขทุกแห่ง | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ | |
dc.subject | ไข้หวัดใหญ่ | |
dc.subject | การฉีดวัคซีน | |
dc.subject | ไข้หวัดใหญ่ -- ผู้ป่วย -- การดูแล | |
dc.subject | Health Sciences | |
dc.subject | ไข้หวัดใหญ่ -- การป้องกันและควบคุม | |
dc.title | ปัจจัยแรงจูงใจในการป้องกันโรคที่มีผลต่อการรับบริการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ในผู้สูงอายุ ตำบลแสนสุข อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี | |
dc.title.alternative | Fctor of motivtion protection in diseses ffecting services influenz vccintion in the elderly snsuk subdistrict, mung chonburi district, chonburi province | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The objective of this study was to study descriptive research of relationship research. This study reports utilization of the relationship of motivation factors in disease prevention services for the flu vaccination in the elderly at sansuk subdistrict. The samples are the elderly who received and did not receive influenza vaccine . Data were collected by interviewing 196 during the period from June to July 2016 . The data analyzing statistics were mean , percent, standard deviation and relations with chi-square. The study showed that, the most elderly were female (63.3%), mean aged 65.8 years (SD = 4.27) The most of education level were elementary (73.0%), Illness History showed that during the past of three months the elderly patients have had muscle aches (30.1%), The allergic history of chicken or egg showed that they had just 1.0 percent. The influenza history showed that the elderly and family members have been influenza in 6.1 percent. The elderly that have an incentive to prevent the flu Overview is a moderate (74.5%), perceived chance the risk of influenza in high (69.9%), self-efficacy in preventing influenza (60.2%), with the motivation of the perceive severity of the flu (54.1%), and the expectation of effectiveness of the response to prevent the flu (48.5%), were moderate. Self- efficacy in preventing influenza was significantly related with the influenza vaccine service 2 =9.002, value = 0.003, The results found a database to receive flu vaccine in the elderly to get vaccination and to receive influenza vaccination and encouraging continual service annually. Encourage the elderly to get the influenza vaccine available in all health services. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | สาธารณสุขศาสตร์ | |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 952.72 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น